หลักฐานเป็นเอกสารการใช้เรดาร์ในแลนดิ้งโมดูลของโครงการอะพอลโล ที่มีใช้กันก่อนโครงการไวกิ้ง ที่ อ อาจองอ้างว่าเป็นคนออกไอเดียคิดวิธีการนี้ ถึงยี่สิบปี
ในขณะที่ อาจองให้สัมภาษณ์สื่อว่า
“เครื่องที่ผมสร้างขึ้นนั้นจะเริ่มทำงานตั้งแต่เริ่มปล่อยเกราะยานไวกิ้ง ปล่อยร่มชูชีพ ไปจนถึงควบคุมยานด้วยจรวด 3 ลำซึ่งอยู่ใต้ตัวยาน ทำหน้าที่ส่งสัญญาณคลื่นไมโครเวฟ ความถี่ 1000 MHz จากยานไวกิ้งลงไปที่พื้นผิวของดาวอังคารและสะท้อนกลับขึ้นมา ”
แต่จากเอกสารของโครงการไวกิ้งระบุชัดเจนว่าเรดาร์ลงจอดใช้คลื่นไมโครเวฟความถี่ 13.3GHz และมีตัวเซนเซอร์ 4 ตัว ไม่ใช่สามตัว
เอกสารประกอบโครงการอะพอลโล
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://www.hq.nasa.gov/alsj/ApolloLMRadarTND6849.pdf
เอกสารประกอบโครงการไวกิ้ง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://ntrs.nasa.gov/archive/nasa/casi.ntrs.nasa.gov/19810001592.pdf
อาจองไหมละเมิง
หลักฐานเป็นเอกสารการใช้เรดาร์ในแลนดิ้งโมดูลของโครงการอะพอลโล ที่มีใช้กันก่อนโครงการไวกิ้ง ที่ อ อาจองอ้างว่าเป็นคนออกไอเดียคิดวิธีการนี้ ถึงยี่สิบปี
ในขณะที่ อาจองให้สัมภาษณ์สื่อว่า
“เครื่องที่ผมสร้างขึ้นนั้นจะเริ่มทำงานตั้งแต่เริ่มปล่อยเกราะยานไวกิ้ง ปล่อยร่มชูชีพ ไปจนถึงควบคุมยานด้วยจรวด 3 ลำซึ่งอยู่ใต้ตัวยาน ทำหน้าที่ส่งสัญญาณคลื่นไมโครเวฟ ความถี่ 1000 MHz จากยานไวกิ้งลงไปที่พื้นผิวของดาวอังคารและสะท้อนกลับขึ้นมา ”
แต่จากเอกสารของโครงการไวกิ้งระบุชัดเจนว่าเรดาร์ลงจอดใช้คลื่นไมโครเวฟความถี่ 13.3GHz และมีตัวเซนเซอร์ 4 ตัว ไม่ใช่สามตัว
เอกสารประกอบโครงการอะพอลโล
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เอกสารประกอบโครงการไวกิ้ง
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้