ปี ค.ศ. 2014 นี้มีคนไทยบางคนที่สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติได้คิดศัพท์คำใหม่ขึ้นคือ "SuperFullmoon"
เพื่อจะมาใช้อธิบายเสริมคำเดิมคือ "supermoon" ที่บัญญัติโดย Richard Nolle เมื่อปี ค.ศ. 1979 หรือใช้กันมา 35 ปี
หมายถึงดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกที่สุดและขนาดใหญ่ที่สุด
ภาษาอังกฤษคำว่า "full moon" จะเขียนแยกคำหรือเว้นวรรคระหว่างคำว่า "full" กับ "moon" ไม่เขียนติดกัน
และถ้าอยากใช้คำนี้ก็ควรใช้ขีด ‐ hyphen หลังคำว่า "super" เป็น "super-full moon"
ตัวอักษร F ไม่ต้องใช้ตัวใหญ่
อย่างไรก็ตามคำว่า "SuperFullmoon" หรือ "super-full moon" เป็นคำใหม่ที่เพิ่งคิดโดยคนไทย ยังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
แนะนำว่าอาจใช้คำเดิมคือ "supermoon"
หรือศัพท์วิทยาศาสตร์ของคำนี้คือ "perigee moon (เพริจี มูน)" หรือจะใช้ว่า "perigee full moon" ก็ได้
คำว่า "perigee" คือจุดใกล้โลกที่สุด
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ supermoon
http://en.wikipedia.org/wiki/Supermoon
ที่มาของคำว่า "SuperFullmoon" จากเว็บไซต์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
http://www.narit.or.th/index.php/pr-news/1468-narit-supermoon
คนไทยคิดคำใหม่ "SuperFullmoon" เสริมคำเก่า "supermoon"
เพื่อจะมาใช้อธิบายเสริมคำเดิมคือ "supermoon" ที่บัญญัติโดย Richard Nolle เมื่อปี ค.ศ. 1979 หรือใช้กันมา 35 ปี
หมายถึงดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกที่สุดและขนาดใหญ่ที่สุด
ภาษาอังกฤษคำว่า "full moon" จะเขียนแยกคำหรือเว้นวรรคระหว่างคำว่า "full" กับ "moon" ไม่เขียนติดกัน
และถ้าอยากใช้คำนี้ก็ควรใช้ขีด ‐ hyphen หลังคำว่า "super" เป็น "super-full moon"
ตัวอักษร F ไม่ต้องใช้ตัวใหญ่
อย่างไรก็ตามคำว่า "SuperFullmoon" หรือ "super-full moon" เป็นคำใหม่ที่เพิ่งคิดโดยคนไทย ยังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
แนะนำว่าอาจใช้คำเดิมคือ "supermoon"
หรือศัพท์วิทยาศาสตร์ของคำนี้คือ "perigee moon (เพริจี มูน)" หรือจะใช้ว่า "perigee full moon" ก็ได้
คำว่า "perigee" คือจุดใกล้โลกที่สุด
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ supermoon http://en.wikipedia.org/wiki/Supermoon
ที่มาของคำว่า "SuperFullmoon" จากเว็บไซต์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ http://www.narit.or.th/index.php/pr-news/1468-narit-supermoon