คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 25
บทความแสดงความเห็นตึกถล่ม จากวิศวกรหญิง.......
ขอแสดงความคิดเห็นนะคะ:
ดูจากรูปใน manager online แล้ว เห็นได้ชัดว่าตึกหลังนี้ เป็นโครงสร้าง precast ที่มาต่อกันทีละชิ้น ไม่ได้เทกับที่เหมือนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป
โครงสร้าง precast แบบนี้ หากขั้นตอนการก่อสร้างไม่ถูกต้อง จะขาด Lateral stabilityเอาง่ายๆเลยค่ะ อันนี้น่ากลัวมากหากรอยต่อยังำม่สามารถทำให้เป็น rigid joint อย่างสมบูรณ์ เสาบางต้นก็อาจจะbraceไม่ครบ
และปัจจุบัน มีหลายบริษัทใหญ่ๆที่เริ่มเอาเทคนิคการก่อสร้างอาคารคสล.แบบทำเป็นprecast members แบบนี้เยอะขึ้นหลายบริษัท หากไม่ดูแลเรื่อง Lateral stabilityให้ดี ก็จะถล่มได้ง่ายๆเลย
และวิศวกรผู้ออกแบบส่วนใหญ่ในปทท.จะไม่สนใจ construction sequences โดยคิดแต่ stability ของfinal stage เมื่อมีพื้นหรือกำแพงมาbraceแล้ว แต่ผลักภาระการคิด construction sequences ให้ผู้รับเหมาเสมอ
มันกลายเป็น norm ของบริษัทออกแบบในประเทศไทยไปแล้ว คือแบ่งหน้าที่ตัดขาดกันเกินไป หากผู้รับเหมา หรือผู้คุมงานไม่มาเชิญไปปรึกษา เขาก็ไม่ไปให้คำแนะนำ ปล่อยให้ผู้รับเหมาคิดเอง บางทีก็แค่presentให้ผู้คุมงาน แต่ความจริงแล้ว คนที่ทราบพฤติกรรมโครงสร้างมากที่สุด คือผู้ออกแบบ สามารถ เอา finite element model มาrun check ให้ได้ ทุก stage แต่ไม่มีใครเคยยอมทำ นอกจากจะบังคับ และให้เงินเพิ่ม บางทีบอกให้เงินเพิ่ม เขายังไม่ยอมทำเลย
และนี่แหละคือมาตราฐานของผู้ออกแบบอาคารในปทท. ผิดกับของต่างประเทศมาก
แต่บริษัทก่อสร้างใหญ่ๆที่ทำงานdesign-buildระดับชาติ เขาจะมีการ check ทุกขั้นตอนของการก่อสร้างเสมอ
สาเหตุหนึ่งของปัญหาคือ เราแบ่งแยกงานขาดจากกันเกินไป และค่าออกแบบถูกเกินไป เจ้าของงาน ไม่ยอมจ่ายค่าออกแบบโครงสร้างมาก เพราะเราตัดราคากันเอง เลยเข้าข่าย You get what you pay. หลายบริษัท ทำงานเหมือนออกไข่ ออกแบบเร็วมาก ผลักงาน detailed design ไปให้ผู้รับเหมาคิด แล้วอ้างว่า เป็นshop drawings ที่ให้ผู้รับเหมาเสนอมาให้ตรวจ(เจอมาเยอะค่ะ ต่อสู้มาจนเซ็งค่ะ แต่สมาคมวิชาชีพของเรา ไม่เคยใส่ใจในปัญหานี้นัก เพราะอะไร คนที่อยู่ในวงการคงทราบดีค่ะ แค่ขอบ่นดังๆนะคะวันนี้) แล้ววิชาชีพวิศวกรรมการออกแบบของไทยเลยไม่พัฒนา มีความเสี่ยงสูงมากจริงๆค่ะ
แม้กระทั่งเรื่องแผ่นดินไหว ก็ออกแบบกันอย่างไม่ได้มาตราฐานเสียส่วนใหญ่ (ไม่ได้พูดเวอร์ไปเลยนะคะ ลองไปคุยกับผู้เชี่ยวชาญดูแล้วจะหนาวค่ะ ว่ากทม.ได้ส่งคนไปวิเคราะห์อาคารสูงในกทม.เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขนาดไหนจะเกิดอะไรขึ้น มีราวสิบกว่า%ที่จะถึงถล่มลงมา และมีอีกราวมากกว่า 50%ที่จะแตกร้าวเสียหายจนใช้การไม่ได้แต่ไม่ถล่ม (ฟังแล้วหนาวมากค่ะ แล้วคอนโดที่สร้างเอาๆ จะมีกี่อาคารที่ออกแบบได้มาตราฐาน??)
ขอแสดงความคิดเห็นนะคะ:
ดูจากรูปใน manager online แล้ว เห็นได้ชัดว่าตึกหลังนี้ เป็นโครงสร้าง precast ที่มาต่อกันทีละชิ้น ไม่ได้เทกับที่เหมือนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป
โครงสร้าง precast แบบนี้ หากขั้นตอนการก่อสร้างไม่ถูกต้อง จะขาด Lateral stabilityเอาง่ายๆเลยค่ะ อันนี้น่ากลัวมากหากรอยต่อยังำม่สามารถทำให้เป็น rigid joint อย่างสมบูรณ์ เสาบางต้นก็อาจจะbraceไม่ครบ
และปัจจุบัน มีหลายบริษัทใหญ่ๆที่เริ่มเอาเทคนิคการก่อสร้างอาคารคสล.แบบทำเป็นprecast members แบบนี้เยอะขึ้นหลายบริษัท หากไม่ดูแลเรื่อง Lateral stabilityให้ดี ก็จะถล่มได้ง่ายๆเลย
และวิศวกรผู้ออกแบบส่วนใหญ่ในปทท.จะไม่สนใจ construction sequences โดยคิดแต่ stability ของfinal stage เมื่อมีพื้นหรือกำแพงมาbraceแล้ว แต่ผลักภาระการคิด construction sequences ให้ผู้รับเหมาเสมอ
มันกลายเป็น norm ของบริษัทออกแบบในประเทศไทยไปแล้ว คือแบ่งหน้าที่ตัดขาดกันเกินไป หากผู้รับเหมา หรือผู้คุมงานไม่มาเชิญไปปรึกษา เขาก็ไม่ไปให้คำแนะนำ ปล่อยให้ผู้รับเหมาคิดเอง บางทีก็แค่presentให้ผู้คุมงาน แต่ความจริงแล้ว คนที่ทราบพฤติกรรมโครงสร้างมากที่สุด คือผู้ออกแบบ สามารถ เอา finite element model มาrun check ให้ได้ ทุก stage แต่ไม่มีใครเคยยอมทำ นอกจากจะบังคับ และให้เงินเพิ่ม บางทีบอกให้เงินเพิ่ม เขายังไม่ยอมทำเลย
และนี่แหละคือมาตราฐานของผู้ออกแบบอาคารในปทท. ผิดกับของต่างประเทศมาก
แต่บริษัทก่อสร้างใหญ่ๆที่ทำงานdesign-buildระดับชาติ เขาจะมีการ check ทุกขั้นตอนของการก่อสร้างเสมอ
สาเหตุหนึ่งของปัญหาคือ เราแบ่งแยกงานขาดจากกันเกินไป และค่าออกแบบถูกเกินไป เจ้าของงาน ไม่ยอมจ่ายค่าออกแบบโครงสร้างมาก เพราะเราตัดราคากันเอง เลยเข้าข่าย You get what you pay. หลายบริษัท ทำงานเหมือนออกไข่ ออกแบบเร็วมาก ผลักงาน detailed design ไปให้ผู้รับเหมาคิด แล้วอ้างว่า เป็นshop drawings ที่ให้ผู้รับเหมาเสนอมาให้ตรวจ(เจอมาเยอะค่ะ ต่อสู้มาจนเซ็งค่ะ แต่สมาคมวิชาชีพของเรา ไม่เคยใส่ใจในปัญหานี้นัก เพราะอะไร คนที่อยู่ในวงการคงทราบดีค่ะ แค่ขอบ่นดังๆนะคะวันนี้) แล้ววิชาชีพวิศวกรรมการออกแบบของไทยเลยไม่พัฒนา มีความเสี่ยงสูงมากจริงๆค่ะ
แม้กระทั่งเรื่องแผ่นดินไหว ก็ออกแบบกันอย่างไม่ได้มาตราฐานเสียส่วนใหญ่ (ไม่ได้พูดเวอร์ไปเลยนะคะ ลองไปคุยกับผู้เชี่ยวชาญดูแล้วจะหนาวค่ะ ว่ากทม.ได้ส่งคนไปวิเคราะห์อาคารสูงในกทม.เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขนาดไหนจะเกิดอะไรขึ้น มีราวสิบกว่า%ที่จะถึงถล่มลงมา และมีอีกราวมากกว่า 50%ที่จะแตกร้าวเสียหายจนใช้การไม่ได้แต่ไม่ถล่ม (ฟังแล้วหนาวมากค่ะ แล้วคอนโดที่สร้างเอาๆ จะมีกี่อาคารที่ออกแบบได้มาตราฐาน??)
แสดงความคิดเห็น
กรณีตึกถล่ม ถ้าวิศวกรผิด จะติดคุกจริงมั้ย?
มีการวิ่งเต้นให้หลุดคดีกันบ่อย หรือไม่