จาก ดร.ปวิน ถึง "นงนุช"
คุณนงนุช มโนภาพการเมืองไทยแบบยูโทเปีย อ้างว่าเป็นการต่อสู้ของ 2 ฝ่ายที่ต่างต้องการประชาธิปไตย
เพียงแต่วิธีได้มาซึ่งประชาธิปไตยนั้นต่างกัน
ขอกล่าวสั้นๆ แต่เพียงว่า ฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามประชาธิปไตยในปัจจุบัน ยังคงขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย
ยังคงเห็นว่า ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง ไม่สามารถเป็นกลไกปกป้องผลประโยชน์ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของตนเองได้
จึงคอยหาโอกาสทำลายหลักการและโครงสร้างประชาธิปไตย
จนทำให้ไทยมาถึงจุดทางตันที่ดูเหมือนไม่มีทางออกทางการเมืองใดๆ
*** ผมขอขอบคุณอาจารย์ ปวิน ครับ ที่อาจารย์ ยังมองถึง ตรรกะ ที่ถูกต้องของระบบประชาธิปไตย ยังยืนยัดในอุดมการณ์ของตัวเอง ซึ่งอาจจะไม่ถูกใจหรือสอดคล้องกับใครบางคนแล้วก็ตาม และ ที่สำคัญ อาจารย์ ยังคงรักษาและเครารพ คำว่าประชาธิปปไตย ได้อย่างสมบูรณ์ครับ ****
แต่ผมงงกับ ตรรกะของคุณ นงนุช ที่บอกว่า
เป็นการต่อสู้ของ 2 ฝ่ายที่ต่างต้องการประชาธิปไตยเพียงแต่วิธีได้มาซึ่งประชาธิปไตยนั้นต่างกัน
โดยอีกฝ่ายต้องการได้มาซึ่งการเครารพในสิทธิ์ ที่มีอยู่ และต้องการเลือกตั้ง และอีกฝ่ากต้องการโดย
ล้มรัฐบาล ด้วยการใช้มวลชนของตัวเองบุกยึดสถานที่ราชการต่างๆ
แสดงอารยะขัดขืน ด้วยการเชิญชวนให้หยุดงานและเลื่อนจ่ายภาษี
ชุมนุมอย่างสงบอหิงสา ด้วยการตัดน้ำตัดไฟสถานที่ราชการต่างๆ
ชุมนุมโดยปราศจากความรุนแรง ด้วยการเผารถตำรวจ และทำร้ายผู้คิดเห็นต่าง
ชุมนุมตามสิทธิในรัฐธรรมนูญ ด้วยการปิดถนน ยึดทางเท้า
จะสร้างกติกาที่เป็นธรรม ด้วยการไม่ให้สิทธิคนที่ไม่มีคุณภาพ และ สุดท้ายจะได้ประชาธิปไตย ด้วยการให้กองทัพทำรัฐประหารยึดอำนาจประชาชน
โดยที่ คุณนงนุชมองว่า โลกได้เปลี่ยนไปแล้ว รัฐประหารเป็นสิ่งที่อาจยอมรับได้ในโลกปัจจุบัน อย่างนั้นหรือครับ.
**** ผมขอยืมคำพูดของ อาจารย์ ปวิน หน่อย ที่ว่า
คำกล่าวนั้นสะท้อนถึงความ "อ่อนต่อโลก" ของคุณนงนุช ครับ.
จาก ดร.ปวิน ถึง "นงนุช"
คุณนงนุช มโนภาพการเมืองไทยแบบยูโทเปีย อ้างว่าเป็นการต่อสู้ของ 2 ฝ่ายที่ต่างต้องการประชาธิปไตย
เพียงแต่วิธีได้มาซึ่งประชาธิปไตยนั้นต่างกัน
ขอกล่าวสั้นๆ แต่เพียงว่า ฝ่ายที่อยู่ตรงข้ามประชาธิปไตยในปัจจุบัน ยังคงขาดความเชื่อมั่นและศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย
ยังคงเห็นว่า ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง ไม่สามารถเป็นกลไกปกป้องผลประโยชน์ทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของตนเองได้
จึงคอยหาโอกาสทำลายหลักการและโครงสร้างประชาธิปไตย
จนทำให้ไทยมาถึงจุดทางตันที่ดูเหมือนไม่มีทางออกทางการเมืองใดๆ
*** ผมขอขอบคุณอาจารย์ ปวิน ครับ ที่อาจารย์ ยังมองถึง ตรรกะ ที่ถูกต้องของระบบประชาธิปไตย ยังยืนยัดในอุดมการณ์ของตัวเอง ซึ่งอาจจะไม่ถูกใจหรือสอดคล้องกับใครบางคนแล้วก็ตาม และ ที่สำคัญ อาจารย์ ยังคงรักษาและเครารพ คำว่าประชาธิปปไตย ได้อย่างสมบูรณ์ครับ ****
แต่ผมงงกับ ตรรกะของคุณ นงนุช ที่บอกว่า เป็นการต่อสู้ของ 2 ฝ่ายที่ต่างต้องการประชาธิปไตยเพียงแต่วิธีได้มาซึ่งประชาธิปไตยนั้นต่างกัน
โดยอีกฝ่ายต้องการได้มาซึ่งการเครารพในสิทธิ์ ที่มีอยู่ และต้องการเลือกตั้ง และอีกฝ่ากต้องการโดย
ล้มรัฐบาล ด้วยการใช้มวลชนของตัวเองบุกยึดสถานที่ราชการต่างๆ
แสดงอารยะขัดขืน ด้วยการเชิญชวนให้หยุดงานและเลื่อนจ่ายภาษี
ชุมนุมอย่างสงบอหิงสา ด้วยการตัดน้ำตัดไฟสถานที่ราชการต่างๆ
ชุมนุมโดยปราศจากความรุนแรง ด้วยการเผารถตำรวจ และทำร้ายผู้คิดเห็นต่าง
ชุมนุมตามสิทธิในรัฐธรรมนูญ ด้วยการปิดถนน ยึดทางเท้า
จะสร้างกติกาที่เป็นธรรม ด้วยการไม่ให้สิทธิคนที่ไม่มีคุณภาพ และ สุดท้ายจะได้ประชาธิปไตย ด้วยการให้กองทัพทำรัฐประหารยึดอำนาจประชาชน
โดยที่ คุณนงนุชมองว่า โลกได้เปลี่ยนไปแล้ว รัฐประหารเป็นสิ่งที่อาจยอมรับได้ในโลกปัจจุบัน อย่างนั้นหรือครับ.
**** ผมขอยืมคำพูดของ อาจารย์ ปวิน หน่อย ที่ว่า คำกล่าวนั้นสะท้อนถึงความ "อ่อนต่อโลก" ของคุณนงนุช ครับ.