คือ ช่วงนี้เราต้องเขียนเรียงความเเนว argumentative essay (ภาษาไทยเรียกว่าอะไรไม่รู้) เเต่เราต้องเขียนสนับสนุนไอเดียหนึ่งๆเเละต่อต้านไอเดียอีกอัน thesis statement ที่ผ่านมา ก็เช่น
1) เนื่องจากความจำของพยานสามารถถูกปรับเปลี่ยนจากการชักจูง ชักนำ เเละเวลา ดังนั้นคำให้การของพยานจึงเชื่อถือไม่ได้เเละคำพูดของพยานผู้เห็นเหตุการณ์ไม่ควรนำมาใช้ตัดสินในศาล (สนับสนุนไอเดียที่ว่าพยานมีความเชื่อถือไม่ได้ เเละต่อต้านการให้พยานขึ้นศาล)
2) เพราะ negatively labelling เด็กจากผู้ปรกครองเเละชุมชนนั้นมีผลกระทบระยะยาวต่อเด็กเเละเป็นการผลักดันเด็กให้กลายมาเป็นคนไม่ดี(criminal) ดังนั้นผู้ปรกครองเเละชุมชนนั้นควรถูกตำหนิ (สนับสนุนไอเดียเกี่ยวกับ labelling theory เเละต่อต้านการลงโทษผู้ต้องหาฝ่ายเดียว เเต่ให้ตำหนิผู้ปรกครองเเละสังคมที่ผลักดันเด็กให้กลายมาเป็นผู้ร้าย)
เป็นต้น
เเต่ปัญหาคือ บางทีเราสนับสนุนความคิดเราไม่ได้สุดๆๆๆๆ เเบบที่อาจารย์ต้องการ เพราะ ปรกติเราชอบเลือกทางสายกลาง เเละเรามีคติที่ว่า เราจะไม่กล่าวหาไอเดียใดๆว่าผิดจนกว่าเราจะศึกษาให้ถ่องเเท้ก่อน
เเต่ว่าการที่ต้องมาเขียน argumentative essay เเบบนี้ เราก็เอาไอเดียมาจากการอ่านบทความ งานวิจัยต่างๆ เเต่ว่าเราคิดว่ามันค่อนข้างจะลำเอียง เพราะ
1) เรามีเป้าหมายในการเขียนอยู่เเล้ว ดังนั้นปรกติเราเเทบไม่อ่านข้อมูลของฝ่ายตรงข้าม เพราะจำกัดเรื่องเวลา เเละ ความยาวของเรียงความ เช่น ไม่อ่านข้อมูลว่าถ้าไม่มีพยานเเล้วศาลจะดำเนินคดีอย่างไร
2) เราไม่สามารถพูดได้ว่าฝ่ายที่เราสนับสนุนนั้นดีเลิศ ไม่มีข้อผิดพลาด อย่าง labelling theory นี่ก็มีบางจุดที่เราขัดใจเเต่เราก็ต้องสนับสนุนว่ามันดี เลยเหมือนเถียงข้างๆคูๆไป
3) เนื่องจากเรามีข้อมูลฝ่ายตรงข้ามน้อย เราเลยไม่สามารถบอกว่าฝ่ายตรงข้ามไม่ดี อย่างเช่น เรื่อง ที่เราตำหนิ(blame) ผู้ปรกครองเเละชุมชนที่ผลักดันให้เด็กกลายมาเป็นผู้ร้ายนั้น มีงานวิจัยหลายอันมาสนับสนุน เเต่ๆ เราก็พอเข้าใจความรู้สึกว่าทำไมผู้ปรกครองหรือคนในชุมชนทำอย่างนั้น(ซึ่งเราไม่ได้โลกสวยพอที่จะคิดว่ามันผิด เเต่ผลลัพท์ของการกระทำมันก็เเย่จริงๆ) ทำให้เราไม่สามารถใช้คำพูดที่รุนเเรงอย่างคำว่า blame , their fault ได้เต็มที่ เเต่พูดอ้อมๆเช่น they should reconsider their actions อะไรประมาณนี้เเทน ทำให้รายงานเราไม่ค่อยเเข็งเเรงเท่าไหร่
จาก 3 ข้อข้างบน ทำให้เวลาเราเขียนเรียงความเเนวนี้เราจะใส่เเต่ข้อมูลๆๆ หลักฐานที่มีคนทำวิจัยมาเเล้ว เเต่มีความเห็นเราน้อยมาก เนื่องจากเราไม่อยากใส่ความเห็นที่เราก็ไม่ได้ชัวว่ามันจะเป็นสิ่งที่ถูกต้อง 100% เลยทำให้ได้คะเเนนน้อย
เเต่ไอ้เเบบที่อาจารย์ต้องการ (เราเคยอ่านเเบบที่อาจาย์ชอบเเล้วนะ รู้สึกเเบบถ้าเราไม่เห็นด้วยกับไอเดียนั้นละเเทบอยากฉีกบทความทิ้ง เเบบว่าเนื้อหารุนเเรง...ไม่ได้ใช้คำรุนเเรง เเต่โครตกระเเทกใจเเต่ในเเง่ลบ )
ใครมีความเห็นว่าอย่างไรคะ อยากเขียนให้มันดีขึ้น เเต่เราเป็นคนหงิมๆไม่ค่อยอยากจะสู้เท่าไหร่ เเม้ในงานเขียนก็เถอะ อีกอย่าง โลกมันไม่ได้มีเเค่ขาวกับดำ มันมีสีเทาๆมากกว่า
เช่น เรื่องพยาน คือ ถ้าไม่มีคำให้การของพยาน งานหลายๆอย่างของตำหรวจคงไม่เดิน หรือ labelling theory ครอบครัวเเละชุมชนอาจจะดี เเต่เด็กมันจะเเย่เองก็ได้
เหนื่อยใจ ไม่อยากจะเขียนอะไรที่ต้องสนับสนุนเพียงฝ่ายเดียว ทำไงจะปรับปรุงได้คะ
จะเขียนเรียงความเเนว argumentative essay ยังไงให้ได้ดีคะ
1) เนื่องจากความจำของพยานสามารถถูกปรับเปลี่ยนจากการชักจูง ชักนำ เเละเวลา ดังนั้นคำให้การของพยานจึงเชื่อถือไม่ได้เเละคำพูดของพยานผู้เห็นเหตุการณ์ไม่ควรนำมาใช้ตัดสินในศาล (สนับสนุนไอเดียที่ว่าพยานมีความเชื่อถือไม่ได้ เเละต่อต้านการให้พยานขึ้นศาล)
2) เพราะ negatively labelling เด็กจากผู้ปรกครองเเละชุมชนนั้นมีผลกระทบระยะยาวต่อเด็กเเละเป็นการผลักดันเด็กให้กลายมาเป็นคนไม่ดี(criminal) ดังนั้นผู้ปรกครองเเละชุมชนนั้นควรถูกตำหนิ (สนับสนุนไอเดียเกี่ยวกับ labelling theory เเละต่อต้านการลงโทษผู้ต้องหาฝ่ายเดียว เเต่ให้ตำหนิผู้ปรกครองเเละสังคมที่ผลักดันเด็กให้กลายมาเป็นผู้ร้าย)
เป็นต้น
เเต่ปัญหาคือ บางทีเราสนับสนุนความคิดเราไม่ได้สุดๆๆๆๆ เเบบที่อาจารย์ต้องการ เพราะ ปรกติเราชอบเลือกทางสายกลาง เเละเรามีคติที่ว่า เราจะไม่กล่าวหาไอเดียใดๆว่าผิดจนกว่าเราจะศึกษาให้ถ่องเเท้ก่อน
เเต่ว่าการที่ต้องมาเขียน argumentative essay เเบบนี้ เราก็เอาไอเดียมาจากการอ่านบทความ งานวิจัยต่างๆ เเต่ว่าเราคิดว่ามันค่อนข้างจะลำเอียง เพราะ
1) เรามีเป้าหมายในการเขียนอยู่เเล้ว ดังนั้นปรกติเราเเทบไม่อ่านข้อมูลของฝ่ายตรงข้าม เพราะจำกัดเรื่องเวลา เเละ ความยาวของเรียงความ เช่น ไม่อ่านข้อมูลว่าถ้าไม่มีพยานเเล้วศาลจะดำเนินคดีอย่างไร
2) เราไม่สามารถพูดได้ว่าฝ่ายที่เราสนับสนุนนั้นดีเลิศ ไม่มีข้อผิดพลาด อย่าง labelling theory นี่ก็มีบางจุดที่เราขัดใจเเต่เราก็ต้องสนับสนุนว่ามันดี เลยเหมือนเถียงข้างๆคูๆไป
3) เนื่องจากเรามีข้อมูลฝ่ายตรงข้ามน้อย เราเลยไม่สามารถบอกว่าฝ่ายตรงข้ามไม่ดี อย่างเช่น เรื่อง ที่เราตำหนิ(blame) ผู้ปรกครองเเละชุมชนที่ผลักดันให้เด็กกลายมาเป็นผู้ร้ายนั้น มีงานวิจัยหลายอันมาสนับสนุน เเต่ๆ เราก็พอเข้าใจความรู้สึกว่าทำไมผู้ปรกครองหรือคนในชุมชนทำอย่างนั้น(ซึ่งเราไม่ได้โลกสวยพอที่จะคิดว่ามันผิด เเต่ผลลัพท์ของการกระทำมันก็เเย่จริงๆ) ทำให้เราไม่สามารถใช้คำพูดที่รุนเเรงอย่างคำว่า blame , their fault ได้เต็มที่ เเต่พูดอ้อมๆเช่น they should reconsider their actions อะไรประมาณนี้เเทน ทำให้รายงานเราไม่ค่อยเเข็งเเรงเท่าไหร่
จาก 3 ข้อข้างบน ทำให้เวลาเราเขียนเรียงความเเนวนี้เราจะใส่เเต่ข้อมูลๆๆ หลักฐานที่มีคนทำวิจัยมาเเล้ว เเต่มีความเห็นเราน้อยมาก เนื่องจากเราไม่อยากใส่ความเห็นที่เราก็ไม่ได้ชัวว่ามันจะเป็นสิ่งที่ถูกต้อง 100% เลยทำให้ได้คะเเนนน้อย
เเต่ไอ้เเบบที่อาจารย์ต้องการ (เราเคยอ่านเเบบที่อาจาย์ชอบเเล้วนะ รู้สึกเเบบถ้าเราไม่เห็นด้วยกับไอเดียนั้นละเเทบอยากฉีกบทความทิ้ง เเบบว่าเนื้อหารุนเเรง...ไม่ได้ใช้คำรุนเเรง เเต่โครตกระเเทกใจเเต่ในเเง่ลบ )
ใครมีความเห็นว่าอย่างไรคะ อยากเขียนให้มันดีขึ้น เเต่เราเป็นคนหงิมๆไม่ค่อยอยากจะสู้เท่าไหร่ เเม้ในงานเขียนก็เถอะ อีกอย่าง โลกมันไม่ได้มีเเค่ขาวกับดำ มันมีสีเทาๆมากกว่า
เช่น เรื่องพยาน คือ ถ้าไม่มีคำให้การของพยาน งานหลายๆอย่างของตำหรวจคงไม่เดิน หรือ labelling theory ครอบครัวเเละชุมชนอาจจะดี เเต่เด็กมันจะเเย่เองก็ได้
เหนื่อยใจ ไม่อยากจะเขียนอะไรที่ต้องสนับสนุนเพียงฝ่ายเดียว ทำไงจะปรับปรุงได้คะ