สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 11
ไม่เกี่ยวกับกระทู้ครับอยากตอบเรื่องดาบญี่ปุ่น อ่านหลายความเห็นเกี่ยวกับดาบญี่ปุ่นแล้วอยากเสนอบ้าง จริงๆรายละเอียดยาวมากขอย่อๆละกัน
มั่วแล้วครับ ดาบญีปุ่น คาตานะ ซื้อ-ขาย ของเก่าเป็นเรื่องปกติ (มีแคตตาล็อกประจำปีสำหรับดาบปีใหม่ๆ ด้วย โดยมีกำหนดจำนวนโควต้าการตีในแต่ละโรงงาน)ครับ ถ้ามีเงิน ในวงการของเก่าญี่ปุ่นก็เล่นหาเหมือนพระเครื่องบ้านเรา มีรุ่น มีนามคนตีตามสายลำดับสกุลช่าง ถิ่นที่ตี ส่วนใหญ่จะเน้นที่ผลิต เช่นดาบยุคโคโตะจากไบเซน มีดาบปลอมตีมือเหมือนพระสมเด็จปลอม เรียก จิเมอิ (บางคนก็ชอบสะสมเหมือนกัน) สิ่งที่แตกต่างในตลาดของเก่าไทยญี่ปุ่น คือความเป็นมาตรฐาน เพราะไนไทยเล่นของเก่าใช้ฝืมือตัวเอง แต่ญี่ปุ่นใช้ความน่าเชื่อถือของร้าน มือใหม่เงินถึงเล่นได้เลย(ไม่รู้ราคาแต่เงินถึงก็แพงหน่อย)
-การซื้อขายคนธรรมดาก็ไปติดต่อร้านในโตเกียวจะมีร้านซื้อ-ขาย ดาบโดยเฉพาะ ร้านพวกนี้จัดการให้หมดรวมถึงใบอนุญาตจาก ศธ. ญี่ปุ่น
- การนำออกจากประเทศ ขั้นตอน ปกติตามใบอนุญาติส่งออกของเก่าติดต่อได้ที่ ศธ. ญี่ปุ่นลงทะเบียน (ขอโฆษณาร้านที่ไซาตามะ ของคุณฮิราโกะ มาซายูกิ เป็นสมาชิกของสมาคมดาบญี่ปุ่นต่างชาติซื้อเยอะ) ที่คนไทยนึกว่าซื้อไม่ได้แค่เฉพาะดาบบางเล่มที่ลงเป็นมรดกของชาติในพิพิธภัณฑ์ ก็เหมือนกับไทยพระพุทธรูปที่ลงคุมในทะเบียนของศิลปากรก็ซื้อขายไม่ได้
ดาบคาตานะแท้ๆ คืออะไรครับ ในเมื่อคาตานะเป็นประเภทของดาบ ดาบญี่ปุ่น(นิฮองโตะ) จะเล่นเขาจะแบ่งตามยุค สายสกุลไม่ใช่ประเภทหรือพิธีกรรม ยุคใหม่ ตัวอย่างรุ่นใหม่จะเป็น โชวะโตะ เกนไดโตะ หรือกุนโตะ (อยู่ในประเภทเกนได)อะไรก็แล้วแต่ ถ้ามีใบ NBTHK ก็เล่นได้หมด
*****ยุคของดาบญี่ปุ่นแบ่งเป็น 5 ยุค โคโตะ ชินโตะ ชิน-ชินโตะ เกนไดหรือคินได และชินซากุ ******* ไม่ได้มีสองยุคแบบที่คนไทยคิดกัน
กุนโตะไม่ใช้ดาบตีหยาบๆ นะครับ (หรือดาบทหารเลว)คนไทยเข้าใจไปเอง (ส่วนใหญ่ไม่เคยเห็นด้วยซ้ำว่าดาบญี่ปุ่นเป็นอย่างไร) และคาตานะ เป็นประเภทดาบ กุนโตะก็เป็นคาตานะ ดาบตีด้วยเครื่องจาก บ. มันเทตซึ หรือ South Manchuria Railway Company เป็นงานไม่ปราณีตหรือ (มูราตะ โตะก็ตีเครื่องราคาแพงระยับ) คุณภาพในช่วงต้นโชวะเหล็กเปลี่ยนการถลุงใช้เหล็กแบบใหม่คมและทนสนิมกว่า tamahagane ซึ่งเป็นการทำเหล็กแบบดั้งเดิมและได้ปริมาณน้อยกว่า เพราะดาบญี่ปุ่นแบบดั้งเดิมทนสภาพอากาศในแมนจูเรียไม่ค่อยไหว สนิมกิน(การดูแลดาบตอนรบในสมรภูมิทำยากไม่มีเวลา)
คนไทยมักจะสับสนระหว่าง traditionally made blades กับ Non-traditionally made blades จะมักจะถูกนิยายทางสารคดีวิธีผลิตดาบหลอนสมอง ซึ่งทั้งสองก็เป็นดาบแท้ทั้งคู่ (มีชื่อกำกับที่ด้ามด้วย)กระบวนการผลิตตีมือไม่ทันกับความต้องการในช่วงสงครามและคุณภาพไม่มาตรฐานเพราะช่างตีดาบไม่เหลือหลังจากยุคเมยิ ไทโช (ไม่มีดีมานด์) พอมาโชวะยุคญี่ปุ่นต้องการหาความเป็นชาตินิยมจึงผลิตดาบญี่ปุ่นมาเป็นเครื่องประดับเครื่องแบบในปี 1935 จึงเรียก ชิน-กุนโตะ
-คนไทยเข้าใจผิดอีกเรื่องคือชื่อที่สลักตรงด้ามดาบ ดาบญี่ปุ่นจะมีชื่อที่ด้ามหรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่มีจะเรียก Mumei ซึ่งดาบที่ไม่สลักชื่อในญี่ปุ่นจะเป็นดาบโบราณ และช่างตีมีชื่อเสียงไม่ต้องแกะชื่อคนทั่วไปก็รู้ว่าดาบเล่มนี้ตีจากช่างคนนี้ ตัวอย่างดาบของ จูโย โทเกน(Jûyô Tôken)ก็ไม่มีชื่อที่ด้าม ถามว่าดูอย่างไรแท้ปลอม ก็กฎเล่นของเก่าทั่วๆไปคนเล่นพระก็ต้องดูพระได้จึงเรียกเซียนพระ คนเล่นดาบในญี่ปุ่นก็เหมือนคนเล่นพระในบ้านเรา ส่องเอา แห่เอาก็มี แต่ที่ต่างกับบ้านตามที่กล่าว ถ้าmumei มีใบ NBTHK เล่นได้เลยมือใหม่ดูไม่เป็นก็เล่นได้
-ดาบที่มีชื่อแกะที่ด้ามก็ใช่ว่าจะมีชื่อเสียง ดาบเก๊ ก็แกะชื่อจากมือคนญี่ปุนได้ ก็เหมือนกระบวนการปลอมพระในบ้านเรา
ดาบญี่ปุนเริ่มต้นที่ สองแสนเยนถึงล้านเยนขึ้นไป ครับ จะเล่นหาก็ศึกษาดูดีๆ นะครับคนญี่ปุ่นเก็งราคาหมดตัวกับการเล่นของเก่า(ดาบ ไห เยอะมาก) พอๆกับเซียนพระเมืองไทย ถ้าจะซื้อที่ร้านต้องเป็นร้านสมาชิกสมาคมเซนโตโช หรือ NBTHK จึงพอน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตามร้านขายดาบจะไม่มีการรับคืนเมื่อซื้อไปแล้ว(ตามธรรมชาติตลาดของเก่าคนซื้อต้องมีความเชี่ยวชาญ ร้านการันตีได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น)
ส่งท้ายดาบสงครามโลกในไทยที่อ้างว่าเป็นมรดกโดยมากจะเป็นของปลอม และเป็นของประทวนมากกว่าสัญญบัตร ของดีๆ ฝรั่งซื้อจากพม่าไปหมดแล้ว
มั่วแล้วครับ ดาบญีปุ่น คาตานะ ซื้อ-ขาย ของเก่าเป็นเรื่องปกติ (มีแคตตาล็อกประจำปีสำหรับดาบปีใหม่ๆ ด้วย โดยมีกำหนดจำนวนโควต้าการตีในแต่ละโรงงาน)ครับ ถ้ามีเงิน ในวงการของเก่าญี่ปุ่นก็เล่นหาเหมือนพระเครื่องบ้านเรา มีรุ่น มีนามคนตีตามสายลำดับสกุลช่าง ถิ่นที่ตี ส่วนใหญ่จะเน้นที่ผลิต เช่นดาบยุคโคโตะจากไบเซน มีดาบปลอมตีมือเหมือนพระสมเด็จปลอม เรียก จิเมอิ (บางคนก็ชอบสะสมเหมือนกัน) สิ่งที่แตกต่างในตลาดของเก่าไทยญี่ปุ่น คือความเป็นมาตรฐาน เพราะไนไทยเล่นของเก่าใช้ฝืมือตัวเอง แต่ญี่ปุ่นใช้ความน่าเชื่อถือของร้าน มือใหม่เงินถึงเล่นได้เลย(ไม่รู้ราคาแต่เงินถึงก็แพงหน่อย)
-การซื้อขายคนธรรมดาก็ไปติดต่อร้านในโตเกียวจะมีร้านซื้อ-ขาย ดาบโดยเฉพาะ ร้านพวกนี้จัดการให้หมดรวมถึงใบอนุญาตจาก ศธ. ญี่ปุ่น
- การนำออกจากประเทศ ขั้นตอน ปกติตามใบอนุญาติส่งออกของเก่าติดต่อได้ที่ ศธ. ญี่ปุ่นลงทะเบียน (ขอโฆษณาร้านที่ไซาตามะ ของคุณฮิราโกะ มาซายูกิ เป็นสมาชิกของสมาคมดาบญี่ปุ่นต่างชาติซื้อเยอะ) ที่คนไทยนึกว่าซื้อไม่ได้แค่เฉพาะดาบบางเล่มที่ลงเป็นมรดกของชาติในพิพิธภัณฑ์ ก็เหมือนกับไทยพระพุทธรูปที่ลงคุมในทะเบียนของศิลปากรก็ซื้อขายไม่ได้
ดาบคาตานะแท้ๆ คืออะไรครับ ในเมื่อคาตานะเป็นประเภทของดาบ ดาบญี่ปุ่น(นิฮองโตะ) จะเล่นเขาจะแบ่งตามยุค สายสกุลไม่ใช่ประเภทหรือพิธีกรรม ยุคใหม่ ตัวอย่างรุ่นใหม่จะเป็น โชวะโตะ เกนไดโตะ หรือกุนโตะ (อยู่ในประเภทเกนได)อะไรก็แล้วแต่ ถ้ามีใบ NBTHK ก็เล่นได้หมด
*****ยุคของดาบญี่ปุ่นแบ่งเป็น 5 ยุค โคโตะ ชินโตะ ชิน-ชินโตะ เกนไดหรือคินได และชินซากุ ******* ไม่ได้มีสองยุคแบบที่คนไทยคิดกัน
กุนโตะไม่ใช้ดาบตีหยาบๆ นะครับ (หรือดาบทหารเลว)คนไทยเข้าใจไปเอง (ส่วนใหญ่ไม่เคยเห็นด้วยซ้ำว่าดาบญี่ปุ่นเป็นอย่างไร) และคาตานะ เป็นประเภทดาบ กุนโตะก็เป็นคาตานะ ดาบตีด้วยเครื่องจาก บ. มันเทตซึ หรือ South Manchuria Railway Company เป็นงานไม่ปราณีตหรือ (มูราตะ โตะก็ตีเครื่องราคาแพงระยับ) คุณภาพในช่วงต้นโชวะเหล็กเปลี่ยนการถลุงใช้เหล็กแบบใหม่คมและทนสนิมกว่า tamahagane ซึ่งเป็นการทำเหล็กแบบดั้งเดิมและได้ปริมาณน้อยกว่า เพราะดาบญี่ปุ่นแบบดั้งเดิมทนสภาพอากาศในแมนจูเรียไม่ค่อยไหว สนิมกิน(การดูแลดาบตอนรบในสมรภูมิทำยากไม่มีเวลา)
คนไทยมักจะสับสนระหว่าง traditionally made blades กับ Non-traditionally made blades จะมักจะถูกนิยายทางสารคดีวิธีผลิตดาบหลอนสมอง ซึ่งทั้งสองก็เป็นดาบแท้ทั้งคู่ (มีชื่อกำกับที่ด้ามด้วย)กระบวนการผลิตตีมือไม่ทันกับความต้องการในช่วงสงครามและคุณภาพไม่มาตรฐานเพราะช่างตีดาบไม่เหลือหลังจากยุคเมยิ ไทโช (ไม่มีดีมานด์) พอมาโชวะยุคญี่ปุ่นต้องการหาความเป็นชาตินิยมจึงผลิตดาบญี่ปุ่นมาเป็นเครื่องประดับเครื่องแบบในปี 1935 จึงเรียก ชิน-กุนโตะ
-คนไทยเข้าใจผิดอีกเรื่องคือชื่อที่สลักตรงด้ามดาบ ดาบญี่ปุ่นจะมีชื่อที่ด้ามหรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่มีจะเรียก Mumei ซึ่งดาบที่ไม่สลักชื่อในญี่ปุ่นจะเป็นดาบโบราณ และช่างตีมีชื่อเสียงไม่ต้องแกะชื่อคนทั่วไปก็รู้ว่าดาบเล่มนี้ตีจากช่างคนนี้ ตัวอย่างดาบของ จูโย โทเกน(Jûyô Tôken)ก็ไม่มีชื่อที่ด้าม ถามว่าดูอย่างไรแท้ปลอม ก็กฎเล่นของเก่าทั่วๆไปคนเล่นพระก็ต้องดูพระได้จึงเรียกเซียนพระ คนเล่นดาบในญี่ปุ่นก็เหมือนคนเล่นพระในบ้านเรา ส่องเอา แห่เอาก็มี แต่ที่ต่างกับบ้านตามที่กล่าว ถ้าmumei มีใบ NBTHK เล่นได้เลยมือใหม่ดูไม่เป็นก็เล่นได้
-ดาบที่มีชื่อแกะที่ด้ามก็ใช่ว่าจะมีชื่อเสียง ดาบเก๊ ก็แกะชื่อจากมือคนญี่ปุนได้ ก็เหมือนกระบวนการปลอมพระในบ้านเรา
ดาบญี่ปุนเริ่มต้นที่ สองแสนเยนถึงล้านเยนขึ้นไป ครับ จะเล่นหาก็ศึกษาดูดีๆ นะครับคนญี่ปุ่นเก็งราคาหมดตัวกับการเล่นของเก่า(ดาบ ไห เยอะมาก) พอๆกับเซียนพระเมืองไทย ถ้าจะซื้อที่ร้านต้องเป็นร้านสมาชิกสมาคมเซนโตโช หรือ NBTHK จึงพอน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตามร้านขายดาบจะไม่มีการรับคืนเมื่อซื้อไปแล้ว(ตามธรรมชาติตลาดของเก่าคนซื้อต้องมีความเชี่ยวชาญ ร้านการันตีได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น)
ส่งท้ายดาบสงครามโลกในไทยที่อ้างว่าเป็นมรดกโดยมากจะเป็นของปลอม และเป็นของประทวนมากกว่าสัญญบัตร ของดีๆ ฝรั่งซื้อจากพม่าไปหมดแล้ว
แสดงความคิดเห็น
ดาบซามูไรกับสปาต้าที่ขายตามแผงกับดาบทหารเลวสมัยโบราณ
ระหว่างดาบซามูไรกับมีดสปาต้า(ที่ขายตามแผง) vs ดาบทหารเลว
ผมเคยลองถามหลายๆคนได้คำตอบไม่เหมือนกัน บางคนก็บอกว่าดาบสมัยก่อนดีกว่าเพราะใช้ออกรบจริง
บางคนก็บอกว่าดาบปัจจุบันคุณภาพดีกว่าเพราะเทคโนโลยีด้านโลหะดีกว่าสมัยก่อน