ขาดทุน !!
ขาดทุน!
คุณชอบมีอารมณ์แบบไหนเมื่อขาดทุน?
1.เสียใจ
2.ดีใจ
3.เฉยๆ
ถ้าคุณเสียใจ ทำไมคุณถึงเสียใจ? ใช่หรือไม่ที่...
1.เสียใจเพราะที่ขายออกแล้ว หุ้นขึ้นต่อ (ขายหมู)
2.ราคาหุ้นลงมาที่จุดที่ตัวเองไม่พอใจ และไม่มีการเตรียมตัวที่จะขายอยู่แล้ว
3.เสียใจเพราะเสียเงินมาก ทำให้เงินหรือมุลค่าในพอร์ตลดเยอะมาก
4.เสียใจเพราะไม่ชอบขาดทุนอยู่แล้ว
5.เสียใจเพราะไม่ได้เป็นผู้กำหนดความเสี่ยงเอง
6.เสียใจเพราะไปหลงเชื่อข่าวลวง
7.ได้หุ้นเด็ดมา แต่ไม่เด็ดจริง!
8.เสียใจที่กลัวติดดอยเลยยอมขายขาดทุน
9.เสียใจที่มันจะไม่เป็นประสบการณ์ที่ดี เพราะไปเชื่ออะไรก็ไม่รู้
10.ไม่เป็นไปตามที่คำนวน หรือคิดวิเคราะห์ไว้ จึงยอมขายขาดทุน
11.เล่นหุ้นตัวเดียว 100% เมื่อเสียจึงเสียหายหนัก เมื่อหุ้นลงหนัก แล้วไปตัดขาดทุนจุดต่ำสุด
12.อื่นๆ
ถ้าคุณดีใจ ทำไมคุณถึงดีใจ? ใช่หรือไม่ที่...
1.ดีใจเพราะดีใจที่ขายออกแล้ว หุ้นลงต่อ
2.ดีใจที่ราคาหุ้นลงมาที่จุดที่ตัวเองพอใจจะขายอยู่แล้ว
3.ดีใจที่เสียเงินน้อย เพราะกระจายความเสี่ยงพอร์ตไว้หมดแล้ว
4.ชอบขาดทุนอยู่แล้ว ป๋า เอาเงินมาแจก!!
5.ดีใจที่เป็นผู้กำหนดความเสี่ยงเอง
6.ดีใจที่จะได้ไม่อยู่กับหุ้นบริษัทที่แย่ๆ ห่วยๆ
7.ไม่ได้รักหุ้นตัวนี้เลย ขายทิ้งขาดทุน เลยดีใจ
8.ดีใจที่จะไม่ติดดอย
9.ดีใจที่มันจะได้เป็นประสบการณ์ที่ดีในการเรียนรู้ที่จะไดกำไรต่อไป
10.ดีใจที่หุ้นตัวนี้มีข่าวแย่ๆ ออกมา แล้วออกหนีทัน ถึงแม้จะขาดทุนน้อย
11.อื่นๆ
ถ้าคุณเฉยๆ ทำไมคุณถึงเฉยๆ? ใช่หรือไม่ที่...
1.เฉยๆเพราะได้กระจายความเสี่ยงไว้แล้ว
2.เฉยๆเพราะไม่ผูกใจติดกับเงินแล้ว
3.เฉยๆเพราะมีระบบการคิดที่ดีแล้ว ทุกอย่างแค่เป็นไปตามระบบที่คิดไว้ก็แค่นั้นเอง
4.เฉยๆเพราะการขาดทุนไม่มีผลต่อการลงทุนเลย หรือถ้ามี ก็มีไม่มาก
5.เฉยๆเพราะมีความเชื่อผูกติดกับสิ่งอื่นที่ไม่ใช่เรื่องการขาดทุน ทำให้การขาดทุนไม่ทำให้เกิดความกังวล
6.อี่นๆ
การขาดทุนนั้นเป็นผล ซึ่งมักส่งผลร้ายต่อการลงทุน และจิตใจของนักลงทุน และมักทำให้นักลงทุนเกิดความไม่พอใจกับการขาดทุน ซึ่งไม่พอใจก็คือเสียใจกับการลงทุน ส่วนเรื่องดีใจและไม่เสียใจ หรือเฉยๆ นั้น เป็นเรื่องของนักลงทุนที่มีแนวโน้มมากว่าจะประสบความสำเร็จ
แต่ปัญหาของการลงทุนคือ การขาดทุน ซึ่งเป็นตัวฉุดดึงไม่ให้นักลงทุนนั้นมีฐานทุนที่ใหญ่ขึ้น หรือจะประสบความสำเร็จ แล้วทำอย่างไร จึงจะไม่ขาดทุน?? คือต้องไปแก้ที่เหตุ คือความไม่พอใจต่อการขาดทุน วิธีแก้คือ นักลงทุนจึงต้องรู้เหตุว่าอะไรทำให้เกิดการขาดทุน ....ซึ่งเหตุที่ไม่พอใจกับการขาดทุนนั้นคือนักลงทุนไม่รู้ว่าการขาดทุนนั้นเป็นธรรชาติ และเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุน และเพราะไม่รู้ว่าการขาดทุนนั้นเป็นธรรชาติ นักลงทุนจึงลงทุนด้วยความเสี่ยงมากๆ จึงส่งผลให้เขาต้องแบกรับความเสี่ยงมากๆ และทำให้เขาขาดทุน และไม่พอใจในการขาดทุนในที่สุด และทำให้เขาไม่พอใจ และทำให้เสียใจกับการขาดทุนนั้น
ซึ่งถ้านักลงทุนมีความเห็น(ที่ถูกต้องว่า)ว่าการขาดทุนมีอยู่เป็นธรรมดาและเกิดขึ้นเสมอกับการลงทุนและ มันบอกจะเราว่ามันจะเป็นเรื่องดีในอนาคตที่นักลงทุนจะสามารถเรียนรู้และทำกำไรได้ในระยะยาว (คือถ้าเมื่อขาดทุนแล้วการขาดทุนไม่หนัก) แต่นักลงทุนที่ขาดทุนหนักนั้นไม่เข้าใจ จึงไปแบกรับความเสี่ยงอย่างหนัก และไปรับผลขาดทุนอย่างหนัก จึงเป็นเหตุให้เกิดความไม่พอใจกับการขาดทุน เพราะเขาไม่เข้าใจธรรมชาติว่าในตลาดนั้นมันจะขาดทุน และกำไร และไม่กำไร ไม่ขาดทุน( คือยังถืออยู่) มันก็จะวนเวียนอย่างนี้ไปเรื่อยๆ ดังนั้นนักลงทุนควรขาดทุนให้น้อยที่สุด เพื่อโอกาสในครั้งต่อไป และในการขาดทุนนั้นควรยินดี เท่ากับ การได้กำไรด้วย เพราะการลงทุนนั้นวางอยู่กับอนาคต ซึ่งมีความไม่นอน ไม่เที่ยงเสมอ จึงไม่ควรเสี่ยง 100%
เมื่อช่วงโอกาสแห่งการทำกำไรเกิดขึ้น นักลงทุนที่มีอารมณ์ที่ติดอยู่กับความพอใจหรือไม่พอใจ ทำให้เกิดความกลัว และความโลภ มองไม่เห็นโอกาสที่จะลงทุนไปกับโอกาสที่จะได้กำไรที่จะมาชดเชยการขาดทุนนั้น จึงเกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาด ซึ่งอารมณ์ในอดีตเป็นเหตุ
ซึ่งแตกต่างมากกับผู้ที่ไม่มีอารมณ์ใดๆ เพราะเขามีความเห็นที่ถูกต้อง เขาจึงได้รับโอกาสนั้นเสมอ และประสบความสำเร็จเสมอ ดังนั้นวิธีที่จะกำจัดการเสียใจกับการทุนคือ ต้องขาดทุนน้อยๆ และเข้าใจธรรมชาติว่าเมื่อพื้นฐานเปลี่ยน หรือ สิ่งที่คิดไว้ไม่เป็นตามคาด ก็ยอมรับว่าการขาดทุนมันก็เป็นเรื่องของธรรมชาติ และการยอมรับว่าการขาดทุนก็เป้นเรื่องที่น่ายินเสมือนกับการได้กำไร เพราะมันเป็นธรรมชาติ และนักลงทุนไม่ควรฝืนธรรชาติ ....
…..Toyoll….
ขาดทุน!
ขาดทุน!
คุณชอบมีอารมณ์แบบไหนเมื่อขาดทุน?
1.เสียใจ
2.ดีใจ
3.เฉยๆ
ถ้าคุณเสียใจ ทำไมคุณถึงเสียใจ? ใช่หรือไม่ที่...
1.เสียใจเพราะที่ขายออกแล้ว หุ้นขึ้นต่อ (ขายหมู)
2.ราคาหุ้นลงมาที่จุดที่ตัวเองไม่พอใจ และไม่มีการเตรียมตัวที่จะขายอยู่แล้ว
3.เสียใจเพราะเสียเงินมาก ทำให้เงินหรือมุลค่าในพอร์ตลดเยอะมาก
4.เสียใจเพราะไม่ชอบขาดทุนอยู่แล้ว
5.เสียใจเพราะไม่ได้เป็นผู้กำหนดความเสี่ยงเอง
6.เสียใจเพราะไปหลงเชื่อข่าวลวง
7.ได้หุ้นเด็ดมา แต่ไม่เด็ดจริง!
8.เสียใจที่กลัวติดดอยเลยยอมขายขาดทุน
9.เสียใจที่มันจะไม่เป็นประสบการณ์ที่ดี เพราะไปเชื่ออะไรก็ไม่รู้
10.ไม่เป็นไปตามที่คำนวน หรือคิดวิเคราะห์ไว้ จึงยอมขายขาดทุน
11.เล่นหุ้นตัวเดียว 100% เมื่อเสียจึงเสียหายหนัก เมื่อหุ้นลงหนัก แล้วไปตัดขาดทุนจุดต่ำสุด
12.อื่นๆ
ถ้าคุณดีใจ ทำไมคุณถึงดีใจ? ใช่หรือไม่ที่...
1.ดีใจเพราะดีใจที่ขายออกแล้ว หุ้นลงต่อ
2.ดีใจที่ราคาหุ้นลงมาที่จุดที่ตัวเองพอใจจะขายอยู่แล้ว
3.ดีใจที่เสียเงินน้อย เพราะกระจายความเสี่ยงพอร์ตไว้หมดแล้ว
4.ชอบขาดทุนอยู่แล้ว ป๋า เอาเงินมาแจก!!
5.ดีใจที่เป็นผู้กำหนดความเสี่ยงเอง
6.ดีใจที่จะได้ไม่อยู่กับหุ้นบริษัทที่แย่ๆ ห่วยๆ
7.ไม่ได้รักหุ้นตัวนี้เลย ขายทิ้งขาดทุน เลยดีใจ
8.ดีใจที่จะไม่ติดดอย
9.ดีใจที่มันจะได้เป็นประสบการณ์ที่ดีในการเรียนรู้ที่จะไดกำไรต่อไป
10.ดีใจที่หุ้นตัวนี้มีข่าวแย่ๆ ออกมา แล้วออกหนีทัน ถึงแม้จะขาดทุนน้อย
11.อื่นๆ
ถ้าคุณเฉยๆ ทำไมคุณถึงเฉยๆ? ใช่หรือไม่ที่...
1.เฉยๆเพราะได้กระจายความเสี่ยงไว้แล้ว
2.เฉยๆเพราะไม่ผูกใจติดกับเงินแล้ว
3.เฉยๆเพราะมีระบบการคิดที่ดีแล้ว ทุกอย่างแค่เป็นไปตามระบบที่คิดไว้ก็แค่นั้นเอง
4.เฉยๆเพราะการขาดทุนไม่มีผลต่อการลงทุนเลย หรือถ้ามี ก็มีไม่มาก
5.เฉยๆเพราะมีความเชื่อผูกติดกับสิ่งอื่นที่ไม่ใช่เรื่องการขาดทุน ทำให้การขาดทุนไม่ทำให้เกิดความกังวล
6.อี่นๆ
การขาดทุนนั้นเป็นผล ซึ่งมักส่งผลร้ายต่อการลงทุน และจิตใจของนักลงทุน และมักทำให้นักลงทุนเกิดความไม่พอใจกับการขาดทุน ซึ่งไม่พอใจก็คือเสียใจกับการลงทุน ส่วนเรื่องดีใจและไม่เสียใจ หรือเฉยๆ นั้น เป็นเรื่องของนักลงทุนที่มีแนวโน้มมากว่าจะประสบความสำเร็จ
แต่ปัญหาของการลงทุนคือ การขาดทุน ซึ่งเป็นตัวฉุดดึงไม่ให้นักลงทุนนั้นมีฐานทุนที่ใหญ่ขึ้น หรือจะประสบความสำเร็จ แล้วทำอย่างไร จึงจะไม่ขาดทุน?? คือต้องไปแก้ที่เหตุ คือความไม่พอใจต่อการขาดทุน วิธีแก้คือ นักลงทุนจึงต้องรู้เหตุว่าอะไรทำให้เกิดการขาดทุน ....ซึ่งเหตุที่ไม่พอใจกับการขาดทุนนั้นคือนักลงทุนไม่รู้ว่าการขาดทุนนั้นเป็นธรรชาติ และเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุน และเพราะไม่รู้ว่าการขาดทุนนั้นเป็นธรรชาติ นักลงทุนจึงลงทุนด้วยความเสี่ยงมากๆ จึงส่งผลให้เขาต้องแบกรับความเสี่ยงมากๆ และทำให้เขาขาดทุน และไม่พอใจในการขาดทุนในที่สุด และทำให้เขาไม่พอใจ และทำให้เสียใจกับการขาดทุนนั้น
ซึ่งถ้านักลงทุนมีความเห็น(ที่ถูกต้องว่า)ว่าการขาดทุนมีอยู่เป็นธรรมดาและเกิดขึ้นเสมอกับการลงทุนและ มันบอกจะเราว่ามันจะเป็นเรื่องดีในอนาคตที่นักลงทุนจะสามารถเรียนรู้และทำกำไรได้ในระยะยาว (คือถ้าเมื่อขาดทุนแล้วการขาดทุนไม่หนัก) แต่นักลงทุนที่ขาดทุนหนักนั้นไม่เข้าใจ จึงไปแบกรับความเสี่ยงอย่างหนัก และไปรับผลขาดทุนอย่างหนัก จึงเป็นเหตุให้เกิดความไม่พอใจกับการขาดทุน เพราะเขาไม่เข้าใจธรรมชาติว่าในตลาดนั้นมันจะขาดทุน และกำไร และไม่กำไร ไม่ขาดทุน( คือยังถืออยู่) มันก็จะวนเวียนอย่างนี้ไปเรื่อยๆ ดังนั้นนักลงทุนควรขาดทุนให้น้อยที่สุด เพื่อโอกาสในครั้งต่อไป และในการขาดทุนนั้นควรยินดี เท่ากับ การได้กำไรด้วย เพราะการลงทุนนั้นวางอยู่กับอนาคต ซึ่งมีความไม่นอน ไม่เที่ยงเสมอ จึงไม่ควรเสี่ยง 100%
เมื่อช่วงโอกาสแห่งการทำกำไรเกิดขึ้น นักลงทุนที่มีอารมณ์ที่ติดอยู่กับความพอใจหรือไม่พอใจ ทำให้เกิดความกลัว และความโลภ มองไม่เห็นโอกาสที่จะลงทุนไปกับโอกาสที่จะได้กำไรที่จะมาชดเชยการขาดทุนนั้น จึงเกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาด ซึ่งอารมณ์ในอดีตเป็นเหตุ
ซึ่งแตกต่างมากกับผู้ที่ไม่มีอารมณ์ใดๆ เพราะเขามีความเห็นที่ถูกต้อง เขาจึงได้รับโอกาสนั้นเสมอ และประสบความสำเร็จเสมอ ดังนั้นวิธีที่จะกำจัดการเสียใจกับการทุนคือ ต้องขาดทุนน้อยๆ และเข้าใจธรรมชาติว่าเมื่อพื้นฐานเปลี่ยน หรือ สิ่งที่คิดไว้ไม่เป็นตามคาด ก็ยอมรับว่าการขาดทุนมันก็เป็นเรื่องของธรรมชาติ และการยอมรับว่าการขาดทุนก็เป้นเรื่องที่น่ายินเสมือนกับการได้กำไร เพราะมันเป็นธรรมชาติ และนักลงทุนไม่ควรฝืนธรรชาติ ....
…..Toyoll….