ธรรมศาสตร์และการเมือง

กระทู้คำถาม
ดร. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล 40ปี14ตุลา 13-10-2013
คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ
http://www.youtube.com/watch?v=UvlRWR_pq6A
ถอดเทปจากYoutube นาทีที่ 50.00 ถึง 50.19
"สภาพดังกล่าว คือ ความจริงทางภววิสัย ดังนั้น ใครก็ตามที่ต้องการมีบทบาทนำในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสังคม จึงจำเป็นต้องเอามันมาพิจารณาประกอบยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของตน เรื่องนี้ หากมองข้ามไม่ใส่ใจก็อาจเสี่ยงต่อการจ่ายราคาที่แสนแพง"

ขอคารวะ ปรมาจารย์ เสกสรรค์ ประเสริฐกุล

ปล: ผมรักในหลวง ผมเป็นกลางนะครับ
___________________

ภววิสัย(หลักแห่งเหตุผล) คือนิยามหนึ่งของ "พระนิพพาน"
ภววิสัย(หลักแห่งเหตุผล) คือนิยามหนึ่งของ "พระนิพพาน"
ภววิสัย(หลักแห่งเหตุผล) คือนิยามหนึ่งของ "พระนิพพาน"

Data นิยาม ภววิสัย, อัตวิสัย
"ภววิสัย = วัตถุวิสัย, เหตุผล, สิ่งที่มีพื้นฐานอยู่บนข้อเท็จจริง เงื่อนไขที่เป็นความจริง โดยไม่ขึ้นอยู่กับจิตใจ"
"อัตวิสัย = จิตวิสัย, อารมณ์, มุมมองหรือความคิดเห็นของบุคคล"
___________________

พระนิพพาน(สัมมาวิมุตติ) = หลักแห่งเหตุผล = มรรคมีองค์10 = มรรคจะเพิ่มขึ้นทีละStep ต้องได้มรรคขั้นต้นๆก่อนถึงจะไปขั้นสูงๆขึ้นไปได้ = มรรคก็อยู่ในหลักเหตุผล คือ เพิ่มขึ้นตามเหตุปัจจัย และไม่สามารถข้ามขั้นได้ = มรรคขั้นสูงที่สุดคือมรรคที่10 หรือสัมมาวิมุตติ(พระนิพพาน) ซึ่งต้องมาจากสัมมาญาณะ(ความรู้แจ้งในทางที่ชอบ) = ไม่มีอะไรอยู่นอกเหนือจากหลักแห่งเหตุผล แม้แต่พระนิพพานที่เป็นสิ่งสูงสุด
ปล. Reference อ้างอิงพระไตรปิฎกส่วน มหาจัตตารีสกสูตร
ที่มา http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=14&A=3724&Z=3923
[๒๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธาน
ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ
เมื่อมีสัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาวายามะ สัมมาสติจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาสติ สัมมาสมาธิจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะจึงพอเหมาะได้
เมื่อมีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติจึงพอเหมาะได้
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการนี้แล พระเสขะผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ จึงเป็นพระอรหันต์ประกอบด้วยองค์ ๑๐
___________________

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น

ภววิสัย(หลักแห่งเหตุผล) คือนิยามหนึ่งของ "พระนิพพาน"
ภววิสัย(หลักแห่งเหตุผล) คือนิยามหนึ่งของ "พระนิพพาน"
ภววิสัย(หลักแห่งเหตุผล) คือนิยามหนึ่งของ "พระนิพพาน"

ดร. เสกสรรค์ ประเสริฐกุล 40ปี14ตุลา 13-10-2013
http://www.youtube.com/watch?v=UvlRWR_pq6A
ถอดเทปนาทีที่ 13.51 ถึง 14.09 = "ระบอบประชาธิปไตย...เป็นความสัมพันธ์ทางอำนาจที่เรียบง่ายชัดเจน และมีสาระใจกลางทางปรัชญาอยู่หนึ่งประโยคเท่านั้น คือ ให้ประชาชนเป็นนายของตัวเอง"
ถอดเทปนาทีที่ 50.00 = "สภาพดังกล่าว คือ ความจริงทาง ภววิสัย"
ขอคารวะ ปรมาจารย์เสกสรรค์ ประเสริฐกุล
___________________

นิพพานัง ปรมัง สุขัง

เตสัง วูปะสะโม สุโข ความระงับดับเสียซึ่งสังขาร(สิ่งปรุงแต่ง) ทั้งหลายนั้นแล เป็นสุขอย่างยิ่ง

อนิจจา วะตะสังขารา อุปปาทะวะยะธัมมิโน อุปปัชชิตตะวา นิรุชชันติ เตสัง วูปะสะโม สุโข
Credit   http://www.meowwarattada.com/board/index.php?topic=916.0%3Bwap2
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่