(เกาะติดประมูล4G) เคาะราคา 1800 11,600 ล้านบาทต่อใบอนุญาต ( ประมูล 2 ใบอนุญาต ) ห้ามผู้เข้าร่วมประมูลรายหนึ่งถือใบอนุญาตสองใบ และ หากมีผู้เข้าร่วมการประมูลเพียง 2 ราย หรือน้อยกว่า ก็ไม่ประมูล
ประเด็นหลัก
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวว่า บอร์ดกทค.มีมติเห็นชอบตามคณะอนุกรรมการ1800 MHz ที่พิจารณาราคาตั้งต้นการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz (4G) โดยมีราคาตั้งต้น 464 ล้านบาทต่อ 1MHz หรือราคา 11,600 ล้านบาทต่อ 1 ใบอนุญาตซึ่งต่อหนึ่งใบอนุญาตมีจำนวนคลื่นความถี่ 12.5x 2 MHz (แบนด์บน-แบนด์ล่าง) โดยการประมูล 4G ครั้งนี้จะมีการประมูล 2 ใบอนุญาตๆละ 12.5 MHzรวมเป็นความถี่ทั้งหมด 25 MHz ดังนั้นจะมีมูลค่ารวมราคาตั้งต้นประมูลทั้งหมด 23,200 ล้านบาท และการเสนอราคาในแต่ละครั้งราคาจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 580 ล้านบาท
สำหรับการประมูลคลื่น 1800 MHz จะเกิดขึ้นกลางเดือนสิงหาคม แบ่งเป็น 2 ใบอนุญาต ใบละ 12.5 MHz x2 อยู่ในช่วงคลื่น 1710- 1722.5 MHz คู่กับ 1808-1817.5 MHz และ 1748-1760.5 MHz คู่กับ 1843-1855.5 MHz โดยกฎการประมูล คือ ประมูลพร้อมกันทั้งสองคลื่น และห้ามผู้เข้าร่วมประมูลรายหนึ่งถือใบอนุญาตสองใบ
ทั้งนี้ราคาตั้งต้นการประมูลดังกล่าวคิดจาก 70% ของราคาประเมินที่มีราคาอยู่ที่ 663 ล้านบาทต่อ1 MHz โดยหลังจากคำนวนแล้วจะมีมูลค่าเหลืออยู่ที่ 464 ล้านบาทต่อ 1 MHz และเป็นการคิดคำนวนจาก 3 แบบจำลองคือ1.ประเมินจากมูลค่าคลื่นความถี่ 1800 MHz ในต่างประเทศทั่วโลก 2.มูลค่าทางธุรกิจทั้งรายเล็ก และรายใหญ่ที่สร้างขึ้นได้จากการนำเอาคลื่นความถี่ที่ประมูลได้ไปหาประโยชน์ ทางเศรษฐกิจตลอดอายุของใบอนุญาต และ3.มูลค่าปัจจุบันของต้นทุนที่ลดลง เนื่องจากการนำคลื่นความถี่ที่ได้จากการประมูลไปใช้
ขณะเดียวกันหากเปรียบเทียบกับจำนวนราคาตั้งการประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1GHz (3G) ซึ่งมีราคา 450 ล้านบาทต่อ 1 MHz นั้นราคา 4G จะมีราคาสูงกว่า 3G เพียง 3% เท่านั้นเนื่องจาก 4G เป็นเพียงคลื่นเสริมที่เข้ามาช่วยในการใช้งานดาต้าของ 3G ที่มีปริมาณสูงขึ้นนั้นเอง
'การประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ที่จะเกิดขึ้นนั้นหากมีผู้เข้าร่วมประมูลน้อยกว่า 2 รายหรือมีเพียง 2 รายกสทช.ก็จะยกเลิกการประมูลในทันที เพื่อไม่ให้มีข้อครหาว่าเป็นการเอื้อให้ผู้ประกอบการรายหนึ่งรายใด ที่สำคัญการประมูลในครั้งนี้ประเทศชาติจะได้ประโยชน์มากที่สุด นั่นคือราคาไม่ต่ำจนเกินไป แต่ขณะเดียวกันราคาก็ต้องไม่สูงเกินไปจนจะทำให้ผู้ประกอบการรายเล็กไม่ สามารถเข้ามาร่วมประมูลครั้งนี้ได้นั่นเอง โดยใช้หลักการการคำนวนจากมาตรฐานสากล'
ทั้งนี้ คิดคำนวณ 1 เมกะเฮิรตซ์ อยู่ที่ 464 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคาที่สูงกว่าการประมูลในคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ ที่ประมูลไปครั้งก่อน 450 ล้านบาท ต่อ 1 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งคิดเป็นอัตราที่สูงกว่า 3% โดยการประมูลคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ มีจำนวน 45 เมกะเฮิรตซ์ แบ่งเป็น 9 ใบอนุญาต ใบละ 5 เมกะเฮิรตซ์ ราคาตั้งต้นต่อใบอยู่ที่ 4,500 ล้านบาท โดยราคารวมทุกใบ คือ 40,500 ล้านบาท
"การที่ราคาตั้งต้นประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ สูงกว่าคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์นั้น เพราะได้พิจารณาจากอันดับมวลรวมภายในประเทศและได้ประเมินจากตลาดรวมของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมด้วย เพราะไทยมีคลื่น 2100 ใช้แล้วตอนนี้ ส่วนคลื่น 1800 นั้น เป็นคลื่นที่มาเสริมมากกว่า ซึ่งในต่างประเทศ คลื่น 2100 มีราคาสูงกว่า 1800 เพราะมีการประมูลและนำมาใช้งานที่ต่างกัน" พ.อ.เศรษฐพงค์กล่าว
พ.อ.เศรษฐพงค์กล่าวต่อว่า เงื่อนไขการประมูลมีอยู่ว่า ผู้ชนะการประมูลในแต่ละใบจะต้องไม่เป็นผู้ประกอบการรายเดียวกัน ห้ามผู้ประกอบการรายเดียวได้ทั้ง 2 ใบอนุญาต เนื่องจาก กทค.ต้องการให้เกิดการแข่งขันและเปิดโอกาสให้มีผู้ประกอบการรายเล็กสามารถทำการแข่งขันได้ อีกทั้งหากมีผู้เข้าร่วมการประมูลเพียง 2 ราย หรือน้อยกว่า จะไม่สามารถทำการประมูลได้ ต้องมีการยกเลิกการประมูล ดังนั้นจะต้องมีผู้เข้าร่วมการประมูลอย่างต่ำ 3 ราย ทั้งนี้ คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ จะมีการกำหนดอัตราการครอบคลุมจำนวนประชากร 40% ใน 4 ปี โดยอัตราดังกล่าว กทค.เห็นว่าคลื่น 1800 จะมาเป็นบริการด้านดาต้า ท็อปอัพ ดังนั้นหลักเกณฑ์ดังกล่าวจึงเหมาะสม
______________________________________
กทค.เคาะราคาประมูลความถี่ 1800 MHz เริ่มต้น 11,600 ล้านบาท/ใบอนุญาต
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์
กทค.เคาะราคาประมูลความถี่ 1800 MHz เริ่มต้น 11,600 ล้านบาท/ใบอนุญาต
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
กทค.เคาะราคาประมูลตั้งต้นใบอนุญาตความถี่ 1800 MHz ที่ 11,600 ล้านบาทต่อ 1ใบอนุญาต ระบุสาเหตุที่สูงกว่า 3G ความถี่ 2.1 GHz เพียง3% เพราะไม่ได้ใช้เป็นคลื่นความถี่หลัก ส่วนความถี่ 900 MHz คาดเคาะราคาตั้งต้นประมูลกลางพ.ค.นี้
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวว่า บอร์ดกทค.มีมติเห็นชอบตามคณะอนุกรรมการ1800 MHz ที่พิจารณาราคาตั้งต้นการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz (4G) โดยมีราคาตั้งต้น 464 ล้านบาทต่อ 1MHz หรือราคา 11,600 ล้านบาทต่อ 1 ใบอนุญาตซึ่งต่อหนึ่งใบอนุญาตมีจำนวนคลื่นความถี่ 12.5x 2 MHz (แบนด์บน-แบนด์ล่าง) โดยการประมูล 4G ครั้งนี้จะมีการประมูล 2 ใบอนุญาตๆละ 12.5 MHzรวมเป็นความถี่ทั้งหมด 25 MHz ดังนั้นจะมีมูลค่ารวมราคาตั้งต้นประมูลทั้งหมด 23,200 ล้านบาท และการเสนอราคาในแต่ละครั้งราคาจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 580 ล้านบาท
ทั้งนี้ราคาตั้งต้นการประมูลดังกล่าวคิดจาก 70% ของราคาประเมินที่มีราคาอยู่ที่ 663 ล้านบาทต่อ1 MHz โดยหลังจากคำนวนแล้วจะมีมูลค่าเหลืออยู่ที่ 464 ล้านบาทต่อ 1 MHz และเป็นการคิดคำนวนจาก 3 แบบจำลองคือ1.ประเมินจากมูลค่าคลื่นความถี่ 1800 MHz ในต่างประเทศทั่วโลก 2.มูลค่าทางธุรกิจทั้งรายเล็ก และรายใหญ่ที่สร้างขึ้นได้จากการนำเอาคลื่นความถี่ที่ประมูลได้ไปหาประโยชน์ ทางเศรษฐกิจตลอดอายุของใบอนุญาต และ3.มูลค่าปัจจุบันของต้นทุนที่ลดลง เนื่องจากการนำคลื่นความถี่ที่ได้จากการประมูลไปใช้
ขณะเดียวกันหากเปรียบเทียบกับจำนวนราคาตั้งการประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1GHz (3G) ซึ่งมีราคา 450 ล้านบาทต่อ 1 MHz นั้นราคา 4G จะมีราคาสูงกว่า 3G เพียง 3% เท่านั้นเนื่องจาก 4G เป็นเพียงคลื่นเสริมที่เข้ามาช่วยในการใช้งานดาต้าของ 3G ที่มีปริมาณสูงขึ้นนั้นเอง
'การประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ที่จะเกิดขึ้นนั้นหากมีผู้เข้าร่วมประมูลน้อยกว่า 2 รายหรือมีเพียง 2 รายกสทช.ก็จะยกเลิกการประมูลในทันที เพื่อไม่ให้มีข้อครหาว่าเป็นการเอื้อให้ผู้ประกอบการรายหนึ่งรายใด ที่สำคัญการประมูลในครั้งนี้ประเทศชาติจะได้ประโยชน์มากที่สุด นั่นคือราคาไม่ต่ำจนเกินไป แต่ขณะเดียวกันราคาก็ต้องไม่สูงเกินไปจนจะทำให้ผู้ประกอบการรายเล็กไม่ สามารถเข้ามาร่วมประมูลครั้งนี้ได้นั่นเอง โดยใช้หลักการการคำนวนจากมาตรฐานสากล'
โดยเบื้องต้นกสทช.ได้กำหนดการครอบคลุมของโครงข่ายของผู้ประกอบการที่จะต้องลงทุนขยายโครงข่ายให้ครอบคลุม 40% ของจำนวนประชากรภายใน4 ปี ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการรายเดิมหรือรายใหม่
สำหรับขั้นตอนต่อจากนี้ บอร์ดกทค.จะนำมติดังกล่าวเข้าที่ประชุมบอร์ดกสทช.เห็นชอบในวันที่ 23 เม.ย.2557 จากนั้นจะใช้เวลาอีก 45 วันเพื่อดำเนินการต่างๆ ได้แก่การนำไปรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ(ประชาพิจารณ์) ก่อนกลับเข้ามาเสนอบอร์ดกทค. และกสทช.อีกครั้งจากนั้นจะนำไปประกาศในราชกิจานุเบกษาได้ และจะใช้เวลาอีกราว 1 เดือนในการประกาศเชิญชวนผู้ประกอบการที่สนใจเข้าร่วมประมูล ซึ่งคาดว่าต้นเดือนส.ค.จะสามารถตรวจสอบคุณสมบัติผู้เข้าประมูลได้ และภายในช่วงกลางเดือนส.ค.2557 นี้จะสามารถเปิดประมูล4Gความถี่ 1800 Mhzได้
ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่สนใจเข้าร่วมการประมูลในครั้งนี้จะต้องเสียเงินค่าเอกสารเข้าร่วมการประมูล 5 แสนบาทพร้อมเงินมัดจำ 5% จากราคาตั้งต้นการประมูลหรือราว580 ล้านบาทในวันที่ยื่นซองประมูล
ขณะที่คลื่นความถี่ 900 MHz ของ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)หรือ เอไอเอส จำนวน 17.5 MHz นั้น บอร์ดกทค.จะมีการพิจารณาราคาตั้งต้นการประมูลในช่วงกลางเดือนพ.ค.2557 ก่อนจะเปิดให้มีการประมูลได้ในช่วงเดือนพ.ย. 2557 โดยจะแบ่งเป็น 2 สล็อต 2 ไลเซ่นส์ สล็อตละ 10 MHz 1 ใบ และ 7.5 MHz 1 ใบ อายุใบอนุญาต 15 ปี
http://www.manager.co.th/CbizReview/ViewNews.aspx?NewsID=9570000043352
_____________________________________________
กทค. เคาะราคาประมูล 4 จี เริ่มต้นที่ 11,600 ล้านบาท เตรียมเสนอบอร์ด กสทช.พิจารณา 23 เม.ย.นี้
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ในฐานะประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม(กทค.) เปิดเผยผลการประชุมคณะกรรมการ กทค.ว่า มีมติกำหนดมูลค่าคลื่นความถี่ที่นำมาใช้กำหนดอัตราราคาตั้งต้นการประมูลใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ หรือ 4 จี โดยได้กำหนดให้คลื่นความถี่มีมูลค่าราคาตั้งต้นการประมูลที่ 1 เมกะเฮิรตซ์ต่อ 464 ล้านบาท ซึ่งเมื่อนำมาคูณกับจำนวนคลื่นความถี่ต่อ 1 ใบอนุญาตจำนวน 12.5 เมกะเฮิรตซ์ และคูณ 2 ที่เป็นการอัตราการใช้งานรับ-ส่งข้อมูลบนคลื่นความถี่ จะได้มูลค่าราคาตั้งต้นการประมูลที่ 11,600 ล้านบาท ต่อ 1 ใบอนุญาต
ทั้งนี้ การคำนวณดังกล่าว มีสหภาพโทรคมนาคมแห่งชาติ(ไอทียู) เป็นผู้คิดคำนวณราคา โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐมิติต่างๆ อาทิ การเปรียบเทียบกับผลการประมูล 4 จี ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(จีดีพี) และศักยภาพรวมทั้งแผนธุรกิจของผู้ประกอบการโทรคมนาคมในไทย เป็นต้น
พ.อ.เศรษฐพงค์ กล่าวว่า สำหรับขั้นตอนต่อไป จะนำมติดังกล่าว ส่งให้คณะกรรมการ กสทช. พิจารณาในวันที่ 23 เมษายน จากนั้นจะนำไปทำประชาพิจารณา 45 วัน หลังจากนั้นจึงจะมีการปรับแก้ร่างประกาศฯตามความเห็นสาธารณะและส่งให้คณะกรรมการ กสทช. พิจารณาอีกครั้ง คาดสามารถกำหนดระยะเวลาการยื่นซื้อเอกสารขอเข้าประมูลได้ในเดือนกรกฎาคม และสามารถเปิดประมูลได้ในช่วงกลางเดือนสิงหาคม ส่วนคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ คาดจะกำหนดราคาตั้งต้นการประมูลได้ในเดือนพฤษภาคม และประมูลในเดือนพฤศจิกายน
ด้านนายประเสริฐ ศีลพิพัฒน์ กรรมการ กสทช. กล่าวว่า ในการประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ในครั้งนี้ จะมีการประมูลจำนวน 2 ใบอนุญาตด้วยกัน จำนวนใบอนุญาตละ 12.5 เมกะเฮิรตซ์ อายุใบอนุญาต 19 ปี ซึ่ง กสทช. จะกำหนดให้ผู้ประกอบการรายหนึ่งสามารถชนะการประมูลใบอนุญาตได้แค่ใบเดียวเท่านั้น ประกอบกับ กสทช. ได้มีการกำหนดกติกาเพิ่มเติม คือ การจะเปิดประมูลได้ก็ต่อเมื่อมีผู้เข้าประมูลไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับจำนวนใบอนุญาต ดังนั้นในการประมูลครั้งนี้จึงเชื่อว่าจะเกิดการแข่งขันในการเสนอราคาประมูลอย่างแน่นอน
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1397812332&grpid=&catid=05&subcatid=0504
_____________________________________________________
เคาะแล้วราคาตั้งต้นประมูลคลื่น 4G "11,600 ล้านบาท/ใบอนุญาต" ครองความถี่ 12.5MHz
พ.อ.เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวว่า ในวันนี้ (18 เม.ย.) ที่ประชุม กทค.มีมติกำหนดราคาตั้งต้นต่อใบอนุญาตของการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ที่ 11,600 ล้านบาท และจะส่งเรื่องนี้ให้ที่ประชุม กสทช. วันที่ 23 เม.ย. รับทราบ ก่อนนำไปประกาศรับฟังความคิดเห็น ซึ่งกินเวลา 45 วัน เพื่อใช้ประกอบในการทำหนังส
(เกาะติดประมูล4G) เคาะราคา 1800 11,600 ล้านบาทต่อ2ใบอนุญาต หากมีผู้เข้าร่วมการประมูลเพียง 2 ราย หรือน้อยกว่าก็ไม่ประมูล
ประเด็นหลัก
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวว่า บอร์ดกทค.มีมติเห็นชอบตามคณะอนุกรรมการ1800 MHz ที่พิจารณาราคาตั้งต้นการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz (4G) โดยมีราคาตั้งต้น 464 ล้านบาทต่อ 1MHz หรือราคา 11,600 ล้านบาทต่อ 1 ใบอนุญาตซึ่งต่อหนึ่งใบอนุญาตมีจำนวนคลื่นความถี่ 12.5x 2 MHz (แบนด์บน-แบนด์ล่าง) โดยการประมูล 4G ครั้งนี้จะมีการประมูล 2 ใบอนุญาตๆละ 12.5 MHzรวมเป็นความถี่ทั้งหมด 25 MHz ดังนั้นจะมีมูลค่ารวมราคาตั้งต้นประมูลทั้งหมด 23,200 ล้านบาท และการเสนอราคาในแต่ละครั้งราคาจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 580 ล้านบาท
สำหรับการประมูลคลื่น 1800 MHz จะเกิดขึ้นกลางเดือนสิงหาคม แบ่งเป็น 2 ใบอนุญาต ใบละ 12.5 MHz x2 อยู่ในช่วงคลื่น 1710- 1722.5 MHz คู่กับ 1808-1817.5 MHz และ 1748-1760.5 MHz คู่กับ 1843-1855.5 MHz โดยกฎการประมูล คือ ประมูลพร้อมกันทั้งสองคลื่น และห้ามผู้เข้าร่วมประมูลรายหนึ่งถือใบอนุญาตสองใบ
ทั้งนี้ราคาตั้งต้นการประมูลดังกล่าวคิดจาก 70% ของราคาประเมินที่มีราคาอยู่ที่ 663 ล้านบาทต่อ1 MHz โดยหลังจากคำนวนแล้วจะมีมูลค่าเหลืออยู่ที่ 464 ล้านบาทต่อ 1 MHz และเป็นการคิดคำนวนจาก 3 แบบจำลองคือ1.ประเมินจากมูลค่าคลื่นความถี่ 1800 MHz ในต่างประเทศทั่วโลก 2.มูลค่าทางธุรกิจทั้งรายเล็ก และรายใหญ่ที่สร้างขึ้นได้จากการนำเอาคลื่นความถี่ที่ประมูลได้ไปหาประโยชน์ ทางเศรษฐกิจตลอดอายุของใบอนุญาต และ3.มูลค่าปัจจุบันของต้นทุนที่ลดลง เนื่องจากการนำคลื่นความถี่ที่ได้จากการประมูลไปใช้
ขณะเดียวกันหากเปรียบเทียบกับจำนวนราคาตั้งการประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1GHz (3G) ซึ่งมีราคา 450 ล้านบาทต่อ 1 MHz นั้นราคา 4G จะมีราคาสูงกว่า 3G เพียง 3% เท่านั้นเนื่องจาก 4G เป็นเพียงคลื่นเสริมที่เข้ามาช่วยในการใช้งานดาต้าของ 3G ที่มีปริมาณสูงขึ้นนั้นเอง
'การประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ที่จะเกิดขึ้นนั้นหากมีผู้เข้าร่วมประมูลน้อยกว่า 2 รายหรือมีเพียง 2 รายกสทช.ก็จะยกเลิกการประมูลในทันที เพื่อไม่ให้มีข้อครหาว่าเป็นการเอื้อให้ผู้ประกอบการรายหนึ่งรายใด ที่สำคัญการประมูลในครั้งนี้ประเทศชาติจะได้ประโยชน์มากที่สุด นั่นคือราคาไม่ต่ำจนเกินไป แต่ขณะเดียวกันราคาก็ต้องไม่สูงเกินไปจนจะทำให้ผู้ประกอบการรายเล็กไม่ สามารถเข้ามาร่วมประมูลครั้งนี้ได้นั่นเอง โดยใช้หลักการการคำนวนจากมาตรฐานสากล'
ทั้งนี้ คิดคำนวณ 1 เมกะเฮิรตซ์ อยู่ที่ 464 ล้านบาท ซึ่งเป็นราคาที่สูงกว่าการประมูลในคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ ที่ประมูลไปครั้งก่อน 450 ล้านบาท ต่อ 1 เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งคิดเป็นอัตราที่สูงกว่า 3% โดยการประมูลคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์ มีจำนวน 45 เมกะเฮิรตซ์ แบ่งเป็น 9 ใบอนุญาต ใบละ 5 เมกะเฮิรตซ์ ราคาตั้งต้นต่อใบอยู่ที่ 4,500 ล้านบาท โดยราคารวมทุกใบ คือ 40,500 ล้านบาท
"การที่ราคาตั้งต้นประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ สูงกว่าคลื่น 2100 เมกะเฮิรตซ์นั้น เพราะได้พิจารณาจากอันดับมวลรวมภายในประเทศและได้ประเมินจากตลาดรวมของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมด้วย เพราะไทยมีคลื่น 2100 ใช้แล้วตอนนี้ ส่วนคลื่น 1800 นั้น เป็นคลื่นที่มาเสริมมากกว่า ซึ่งในต่างประเทศ คลื่น 2100 มีราคาสูงกว่า 1800 เพราะมีการประมูลและนำมาใช้งานที่ต่างกัน" พ.อ.เศรษฐพงค์กล่าว
พ.อ.เศรษฐพงค์กล่าวต่อว่า เงื่อนไขการประมูลมีอยู่ว่า ผู้ชนะการประมูลในแต่ละใบจะต้องไม่เป็นผู้ประกอบการรายเดียวกัน ห้ามผู้ประกอบการรายเดียวได้ทั้ง 2 ใบอนุญาต เนื่องจาก กทค.ต้องการให้เกิดการแข่งขันและเปิดโอกาสให้มีผู้ประกอบการรายเล็กสามารถทำการแข่งขันได้ อีกทั้งหากมีผู้เข้าร่วมการประมูลเพียง 2 ราย หรือน้อยกว่า จะไม่สามารถทำการประมูลได้ ต้องมีการยกเลิกการประมูล ดังนั้นจะต้องมีผู้เข้าร่วมการประมูลอย่างต่ำ 3 ราย ทั้งนี้ คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ จะมีการกำหนดอัตราการครอบคลุมจำนวนประชากร 40% ใน 4 ปี โดยอัตราดังกล่าว กทค.เห็นว่าคลื่น 1800 จะมาเป็นบริการด้านดาต้า ท็อปอัพ ดังนั้นหลักเกณฑ์ดังกล่าวจึงเหมาะสม
______________________________________
กทค.เคาะราคาประมูลความถี่ 1800 MHz เริ่มต้น 11,600 ล้านบาท/ใบอนุญาต
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์
กทค.เคาะราคาประมูลความถี่ 1800 MHz เริ่มต้น 11,600 ล้านบาท/ใบอนุญาต
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
กทค.เคาะราคาประมูลตั้งต้นใบอนุญาตความถี่ 1800 MHz ที่ 11,600 ล้านบาทต่อ 1ใบอนุญาต ระบุสาเหตุที่สูงกว่า 3G ความถี่ 2.1 GHz เพียง3% เพราะไม่ได้ใช้เป็นคลื่นความถี่หลัก ส่วนความถี่ 900 MHz คาดเคาะราคาตั้งต้นประมูลกลางพ.ค.นี้
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวว่า บอร์ดกทค.มีมติเห็นชอบตามคณะอนุกรรมการ1800 MHz ที่พิจารณาราคาตั้งต้นการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz (4G) โดยมีราคาตั้งต้น 464 ล้านบาทต่อ 1MHz หรือราคา 11,600 ล้านบาทต่อ 1 ใบอนุญาตซึ่งต่อหนึ่งใบอนุญาตมีจำนวนคลื่นความถี่ 12.5x 2 MHz (แบนด์บน-แบนด์ล่าง) โดยการประมูล 4G ครั้งนี้จะมีการประมูล 2 ใบอนุญาตๆละ 12.5 MHzรวมเป็นความถี่ทั้งหมด 25 MHz ดังนั้นจะมีมูลค่ารวมราคาตั้งต้นประมูลทั้งหมด 23,200 ล้านบาท และการเสนอราคาในแต่ละครั้งราคาจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 580 ล้านบาท
ทั้งนี้ราคาตั้งต้นการประมูลดังกล่าวคิดจาก 70% ของราคาประเมินที่มีราคาอยู่ที่ 663 ล้านบาทต่อ1 MHz โดยหลังจากคำนวนแล้วจะมีมูลค่าเหลืออยู่ที่ 464 ล้านบาทต่อ 1 MHz และเป็นการคิดคำนวนจาก 3 แบบจำลองคือ1.ประเมินจากมูลค่าคลื่นความถี่ 1800 MHz ในต่างประเทศทั่วโลก 2.มูลค่าทางธุรกิจทั้งรายเล็ก และรายใหญ่ที่สร้างขึ้นได้จากการนำเอาคลื่นความถี่ที่ประมูลได้ไปหาประโยชน์ ทางเศรษฐกิจตลอดอายุของใบอนุญาต และ3.มูลค่าปัจจุบันของต้นทุนที่ลดลง เนื่องจากการนำคลื่นความถี่ที่ได้จากการประมูลไปใช้
ขณะเดียวกันหากเปรียบเทียบกับจำนวนราคาตั้งการประมูลคลื่นความถี่ย่าน 2.1GHz (3G) ซึ่งมีราคา 450 ล้านบาทต่อ 1 MHz นั้นราคา 4G จะมีราคาสูงกว่า 3G เพียง 3% เท่านั้นเนื่องจาก 4G เป็นเพียงคลื่นเสริมที่เข้ามาช่วยในการใช้งานดาต้าของ 3G ที่มีปริมาณสูงขึ้นนั้นเอง
'การประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ที่จะเกิดขึ้นนั้นหากมีผู้เข้าร่วมประมูลน้อยกว่า 2 รายหรือมีเพียง 2 รายกสทช.ก็จะยกเลิกการประมูลในทันที เพื่อไม่ให้มีข้อครหาว่าเป็นการเอื้อให้ผู้ประกอบการรายหนึ่งรายใด ที่สำคัญการประมูลในครั้งนี้ประเทศชาติจะได้ประโยชน์มากที่สุด นั่นคือราคาไม่ต่ำจนเกินไป แต่ขณะเดียวกันราคาก็ต้องไม่สูงเกินไปจนจะทำให้ผู้ประกอบการรายเล็กไม่ สามารถเข้ามาร่วมประมูลครั้งนี้ได้นั่นเอง โดยใช้หลักการการคำนวนจากมาตรฐานสากล'
โดยเบื้องต้นกสทช.ได้กำหนดการครอบคลุมของโครงข่ายของผู้ประกอบการที่จะต้องลงทุนขยายโครงข่ายให้ครอบคลุม 40% ของจำนวนประชากรภายใน4 ปี ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการรายเดิมหรือรายใหม่
สำหรับขั้นตอนต่อจากนี้ บอร์ดกทค.จะนำมติดังกล่าวเข้าที่ประชุมบอร์ดกสทช.เห็นชอบในวันที่ 23 เม.ย.2557 จากนั้นจะใช้เวลาอีก 45 วันเพื่อดำเนินการต่างๆ ได้แก่การนำไปรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ(ประชาพิจารณ์) ก่อนกลับเข้ามาเสนอบอร์ดกทค. และกสทช.อีกครั้งจากนั้นจะนำไปประกาศในราชกิจานุเบกษาได้ และจะใช้เวลาอีกราว 1 เดือนในการประกาศเชิญชวนผู้ประกอบการที่สนใจเข้าร่วมประมูล ซึ่งคาดว่าต้นเดือนส.ค.จะสามารถตรวจสอบคุณสมบัติผู้เข้าประมูลได้ และภายในช่วงกลางเดือนส.ค.2557 นี้จะสามารถเปิดประมูล4Gความถี่ 1800 Mhzได้
ทั้งนี้ผู้ประกอบการที่สนใจเข้าร่วมการประมูลในครั้งนี้จะต้องเสียเงินค่าเอกสารเข้าร่วมการประมูล 5 แสนบาทพร้อมเงินมัดจำ 5% จากราคาตั้งต้นการประมูลหรือราว580 ล้านบาทในวันที่ยื่นซองประมูล
ขณะที่คลื่นความถี่ 900 MHz ของ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์เซอร์วิส จำกัด (มหาชน)หรือ เอไอเอส จำนวน 17.5 MHz นั้น บอร์ดกทค.จะมีการพิจารณาราคาตั้งต้นการประมูลในช่วงกลางเดือนพ.ค.2557 ก่อนจะเปิดให้มีการประมูลได้ในช่วงเดือนพ.ย. 2557 โดยจะแบ่งเป็น 2 สล็อต 2 ไลเซ่นส์ สล็อตละ 10 MHz 1 ใบ และ 7.5 MHz 1 ใบ อายุใบอนุญาต 15 ปี
http://www.manager.co.th/CbizReview/ViewNews.aspx?NewsID=9570000043352
_____________________________________________
กทค. เคาะราคาประมูล 4 จี เริ่มต้นที่ 11,600 ล้านบาท เตรียมเสนอบอร์ด กสทช.พิจารณา 23 เม.ย.นี้
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ในฐานะประธานกรรมการกิจการโทรคมนาคม(กทค.) เปิดเผยผลการประชุมคณะกรรมการ กทค.ว่า มีมติกำหนดมูลค่าคลื่นความถี่ที่นำมาใช้กำหนดอัตราราคาตั้งต้นการประมูลใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์ หรือ 4 จี โดยได้กำหนดให้คลื่นความถี่มีมูลค่าราคาตั้งต้นการประมูลที่ 1 เมกะเฮิรตซ์ต่อ 464 ล้านบาท ซึ่งเมื่อนำมาคูณกับจำนวนคลื่นความถี่ต่อ 1 ใบอนุญาตจำนวน 12.5 เมกะเฮิรตซ์ และคูณ 2 ที่เป็นการอัตราการใช้งานรับ-ส่งข้อมูลบนคลื่นความถี่ จะได้มูลค่าราคาตั้งต้นการประมูลที่ 11,600 ล้านบาท ต่อ 1 ใบอนุญาต
ทั้งนี้ การคำนวณดังกล่าว มีสหภาพโทรคมนาคมแห่งชาติ(ไอทียู) เป็นผู้คิดคำนวณราคา โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐมิติต่างๆ อาทิ การเปรียบเทียบกับผลการประมูล 4 จี ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(จีดีพี) และศักยภาพรวมทั้งแผนธุรกิจของผู้ประกอบการโทรคมนาคมในไทย เป็นต้น
พ.อ.เศรษฐพงค์ กล่าวว่า สำหรับขั้นตอนต่อไป จะนำมติดังกล่าว ส่งให้คณะกรรมการ กสทช. พิจารณาในวันที่ 23 เมษายน จากนั้นจะนำไปทำประชาพิจารณา 45 วัน หลังจากนั้นจึงจะมีการปรับแก้ร่างประกาศฯตามความเห็นสาธารณะและส่งให้คณะกรรมการ กสทช. พิจารณาอีกครั้ง คาดสามารถกำหนดระยะเวลาการยื่นซื้อเอกสารขอเข้าประมูลได้ในเดือนกรกฎาคม และสามารถเปิดประมูลได้ในช่วงกลางเดือนสิงหาคม ส่วนคลื่นความถี่ย่าน 900 เมกะเฮิรตซ์ คาดจะกำหนดราคาตั้งต้นการประมูลได้ในเดือนพฤษภาคม และประมูลในเดือนพฤศจิกายน
ด้านนายประเสริฐ ศีลพิพัฒน์ กรรมการ กสทช. กล่าวว่า ในการประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ในครั้งนี้ จะมีการประมูลจำนวน 2 ใบอนุญาตด้วยกัน จำนวนใบอนุญาตละ 12.5 เมกะเฮิรตซ์ อายุใบอนุญาต 19 ปี ซึ่ง กสทช. จะกำหนดให้ผู้ประกอบการรายหนึ่งสามารถชนะการประมูลใบอนุญาตได้แค่ใบเดียวเท่านั้น ประกอบกับ กสทช. ได้มีการกำหนดกติกาเพิ่มเติม คือ การจะเปิดประมูลได้ก็ต่อเมื่อมีผู้เข้าประมูลไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับจำนวนใบอนุญาต ดังนั้นในการประมูลครั้งนี้จึงเชื่อว่าจะเกิดการแข่งขันในการเสนอราคาประมูลอย่างแน่นอน
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1397812332&grpid=&catid=05&subcatid=0504
_____________________________________________________
เคาะแล้วราคาตั้งต้นประมูลคลื่น 4G "11,600 ล้านบาท/ใบอนุญาต" ครองความถี่ 12.5MHz
พ.อ.เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวว่า ในวันนี้ (18 เม.ย.) ที่ประชุม กทค.มีมติกำหนดราคาตั้งต้นต่อใบอนุญาตของการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz ที่ 11,600 ล้านบาท และจะส่งเรื่องนี้ให้ที่ประชุม กสทช. วันที่ 23 เม.ย. รับทราบ ก่อนนำไปประกาศรับฟังความคิดเห็น ซึ่งกินเวลา 45 วัน เพื่อใช้ประกอบในการทำหนังส