แม้นโยบายจะดี.... แต่เป็นนโยบายที่คนคิดไม่มีประสบการณ์สังคมตรงๆ ...ได้แต่อุดมคติไปวันๆ...
ก็ทำออกมาได้แบบแบบลอยๆ เป็นนามธรรม...ไร้พื้นฐานสังคมรองรับทำให้ประเทศล้าหลัง เสียโอกาสไปหลายปี
อย่าไปบ้าตามพรรคประชาวิบัติพวกสมองวัว ที่อะไรๆก็จะเอาการศึกษาระดับสูง
อย่าพยายามผลักดันคนให้เป็นอัจฉริยะไปเสียหมด มันเป็นไปไม่ได้
คือการศึกษาต้องมีตามลำดับขั้น....ไม่ใช่เอานำหน้าบ้าอุดมคติกันไม่รู้จักเลิก
ไอ้ประเภทสอนให้หาปลาดีกว่าเอาปลาไปให้ก็เท่ดี...
เราเคยคิดเรื่องเบ็ดเรื่องท่าน้ำทำเลเหวี่ยงแหกันบ้างไหมครับ...
ทำไมถมงบลงไปที่กระทรวงศึกษาเท่าไร ก็ยังไปไม่ถึงไหนหละครับ...
เป็นเพราะยังมีตัวแปรอื่นๆที่ต้องทำก่อนไงครับ...เป็นเพราะเรียงลำดับผิดขั้นผิดยุคไงครับ
สำหรับปุถุชน ปัจจัยพื้นฐาน คือลมหายใจ.....ชีวิตต้องมาก่อน
แล้วปัจจัยสี่ต้องตามมา
ถ้ารัฐบาลจะเอาข้าวปลาเสื้อผ้าที่อยู่ไปให้ตรงๆก็เฉพาะกรณีภัยพิบัติ... เกินจากนั้นต้องพิจารณาเยอะๆ
แต่บางประเทศเขาที่เน้นรัฐสวัสดิการก็ทำให้นะครับ แลกกับการที่ประชาชนต้องจ่ายภาษีสูงลิ่ว
มายุคไทยรักไทยทำดีมากคือ กระจายเรื่องสาธารณะสุข เฉลี่ยกันไปเลย
1. ในสมัยก่อนการที่ปัจจัยสี่จะเกิดขึ้นได้ไม่อดอยาก... ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยสี่ต้องมาก่อน
นั่นคือระบบการศึกษาสมัยเก่า
ทำกระชอน เบ็ดตกปลา เลี้ยงสัตว์ ทอผ้า ปั่นฝ้าย ไถนา สร้างบ้านยกเสาสูง ตีเหล็กอะไรงี้ ทำกันในครอบครัวในชุมชน
มันทำได้ตรงๆ เพราะสภาพแวดล้อมมันยังให้...ป่าไม้ที่ดิน น้ำ ฝน มีพร้อม
2. แต่ในยุคนี้มันไม่ใช่แค่นั้นแล้ว เพราะสังคมและวิถีชีวิตเปลี่ยนไปหมดแล้ว
จะเอาการศึกษาเทคนิคสูงๆยัดๆเข้าไปแบบทื่อๆทั้งที่สังคมไม่มีสภาพแวดล้อมรองรับ ทำแบบมืดมนมันก็พังสิครับ
ถามจริง
ถ้าท้องยังหิวไม่รู้จะได้อิ่มไปอีกกี่มื้อ
ที่ซุกหัวนอนยังเอาแน่ไม่ได้
เสื้อผ้าไม่พอคลายหนาว
เจ็บไข้ไม่หมอมียาเพียงพอและดีพอ
แล้วมนุษย์ปุถุชนส่วนใหญ่หน้าไหนมันจะศึกษาได้สำเร็จบ้างครับ
ต้องเรียงลำดับความสำคัญของชีวิตกันให้ดีนะครับ
ในยุคนี้ การคมนาคมต้องมาก่อน เพราะการคมนาคมจะเอื้อปัจจัยสี่ครับ
และต้องทำให้ดีๆให้นำหน้าชาวบ้านเขาด้วยนะครับ เศรษฐกิจจึงจะเจริญได้เต็มที่
หลังจากนั้น เมื่อการสื่อสารที่ดีตามมา การศึกษาในขั้นสูงๆจึงจะตามมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ถ้าพื้นฐาน คมนาคมดี สื่อสารดี นั่นคือโอกาสเปิดแล้ว ประชาชนเขาก็จะแสวงหางานพื้นฐานด้วยโอกาสนั้นๆเองครับ
ซึ่งก็จะไปเอื้อให้เศรษฐกิจดีไปด้วย ก็จะเอื้อให้ปัจจัยสี่ดี มีความเท่าเทียมพอจะรับกันได้...
เมื่อมีโอกาสเดินไปในทางที่ดีก็ไม่มีใครอยากเป็นโจรหรอกครับ...ถ้าเศรษฐกิจโดยรวมไม่ดีสิ เรื่องผิดกฏหมายจึงจะตามมาเยอะๆ
ถึงตอนนั้น.... ประชาชนเขามีความมั่นคงในระดับหนึ่ง...เขาก็จะมีแรงจูงใจศึกษาในสิ่งที่เขาสนใจกันเองครับ
3. ถ้าประเทศได้โครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมและสื่อสารดีมากๆแล้ว...
การกระจายปัจจัยสี่ก็ไม่ยาก...เมื่อสังคมมีพื้นฐานปัจจัยสี่ไกล้เคียงกัน...
พ้นจากยุคนี้ไปทิศทางการพัฒนาจึงจะสามารถอิงการศึกษานำหน้าไปได้
เพราะจะกลายเป็นยุคองค์ความรู้ เมื่อไรที่บริษัทเล็กๆ ต่างก็สามารถทำ R&D ทำงานเฉพาะทางกันได้ไม่ยากนัก
ทำกันได้ทั่วถึง นั่นหละครับจึงจะเป็นยุคการศึกษาของแท้
ไอ้ที่เรียนมหาลัยกันอยุ่ตอนนี้ไม่ใช่ครับ.. มันเป็นยุคการศึกษากลวงๆ เพราะเน้นแค่ครึ่งเดียว...
------ สิ่งที่นักเรียนส่วนใหญ่ในปัจจุบันทำมันเป็นแค่การเสพหลักสูตรการศึกษา มันคือการเสพชัดๆเลย
ไม่ใช่การเรียนฝึกฝนเพื่อสร้างต่อยอดหรือแม้แต่จะผสานองค์ความรู้พื้นฐานก็ยังทำกันไม่ค่อยได้เลย----
มันเป็นเพียงค่านิยมที่ทำให้คนหลงไปกับวุฒิบัตร จบจากมหาลัยเมื่อไรก็ตื่นจากความฝันกันเมื่อนั้น
แล้วองค์กรที่รับเด็กจบใหม่ก็รับช่วงแบกภาระความอ่อนด้อยอันนี้ต่อไปอีก...
ถ้าเป็นคนที่ทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยพวกนี้จะโชคดีหน่อยคือหลับๆตื่นๆ
หรือตื่นก่อนคนอื่น...ต่อให้วิชาการไม่ค่อยได้เรื่องก็ยังพอเอาตัวรอดได้
พวกที่บ้าการศึกษาผิดกาละเทศะในยุคยี่สิบปีที่ผ่านมานี้...เกินครึ่งจบการศึกษามาเพื่อเจ็บตัวทั้งนั้น
พรรคประชาวิบัติให้ความสำคัญกับการศึกษาอย่างผิดกาละเทศะ ผลคือ...
ก็ทำออกมาได้แบบแบบลอยๆ เป็นนามธรรม...ไร้พื้นฐานสังคมรองรับทำให้ประเทศล้าหลัง เสียโอกาสไปหลายปี
อย่าไปบ้าตามพรรคประชาวิบัติพวกสมองวัว ที่อะไรๆก็จะเอาการศึกษาระดับสูง
อย่าพยายามผลักดันคนให้เป็นอัจฉริยะไปเสียหมด มันเป็นไปไม่ได้
คือการศึกษาต้องมีตามลำดับขั้น....ไม่ใช่เอานำหน้าบ้าอุดมคติกันไม่รู้จักเลิก
ไอ้ประเภทสอนให้หาปลาดีกว่าเอาปลาไปให้ก็เท่ดี...
เราเคยคิดเรื่องเบ็ดเรื่องท่าน้ำทำเลเหวี่ยงแหกันบ้างไหมครับ...
ทำไมถมงบลงไปที่กระทรวงศึกษาเท่าไร ก็ยังไปไม่ถึงไหนหละครับ...
เป็นเพราะยังมีตัวแปรอื่นๆที่ต้องทำก่อนไงครับ...เป็นเพราะเรียงลำดับผิดขั้นผิดยุคไงครับ
สำหรับปุถุชน ปัจจัยพื้นฐาน คือลมหายใจ.....ชีวิตต้องมาก่อน
แล้วปัจจัยสี่ต้องตามมา
ถ้ารัฐบาลจะเอาข้าวปลาเสื้อผ้าที่อยู่ไปให้ตรงๆก็เฉพาะกรณีภัยพิบัติ... เกินจากนั้นต้องพิจารณาเยอะๆ
แต่บางประเทศเขาที่เน้นรัฐสวัสดิการก็ทำให้นะครับ แลกกับการที่ประชาชนต้องจ่ายภาษีสูงลิ่ว
มายุคไทยรักไทยทำดีมากคือ กระจายเรื่องสาธารณะสุข เฉลี่ยกันไปเลย
1. ในสมัยก่อนการที่ปัจจัยสี่จะเกิดขึ้นได้ไม่อดอยาก... ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับปัจจัยสี่ต้องมาก่อน
นั่นคือระบบการศึกษาสมัยเก่า
ทำกระชอน เบ็ดตกปลา เลี้ยงสัตว์ ทอผ้า ปั่นฝ้าย ไถนา สร้างบ้านยกเสาสูง ตีเหล็กอะไรงี้ ทำกันในครอบครัวในชุมชน
มันทำได้ตรงๆ เพราะสภาพแวดล้อมมันยังให้...ป่าไม้ที่ดิน น้ำ ฝน มีพร้อม
2. แต่ในยุคนี้มันไม่ใช่แค่นั้นแล้ว เพราะสังคมและวิถีชีวิตเปลี่ยนไปหมดแล้ว
จะเอาการศึกษาเทคนิคสูงๆยัดๆเข้าไปแบบทื่อๆทั้งที่สังคมไม่มีสภาพแวดล้อมรองรับ ทำแบบมืดมนมันก็พังสิครับ
ถามจริง
ถ้าท้องยังหิวไม่รู้จะได้อิ่มไปอีกกี่มื้อ
ที่ซุกหัวนอนยังเอาแน่ไม่ได้
เสื้อผ้าไม่พอคลายหนาว
เจ็บไข้ไม่หมอมียาเพียงพอและดีพอ
แล้วมนุษย์ปุถุชนส่วนใหญ่หน้าไหนมันจะศึกษาได้สำเร็จบ้างครับ
ต้องเรียงลำดับความสำคัญของชีวิตกันให้ดีนะครับ
ในยุคนี้ การคมนาคมต้องมาก่อน เพราะการคมนาคมจะเอื้อปัจจัยสี่ครับ
และต้องทำให้ดีๆให้นำหน้าชาวบ้านเขาด้วยนะครับ เศรษฐกิจจึงจะเจริญได้เต็มที่
หลังจากนั้น เมื่อการสื่อสารที่ดีตามมา การศึกษาในขั้นสูงๆจึงจะตามมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ถ้าพื้นฐาน คมนาคมดี สื่อสารดี นั่นคือโอกาสเปิดแล้ว ประชาชนเขาก็จะแสวงหางานพื้นฐานด้วยโอกาสนั้นๆเองครับ
ซึ่งก็จะไปเอื้อให้เศรษฐกิจดีไปด้วย ก็จะเอื้อให้ปัจจัยสี่ดี มีความเท่าเทียมพอจะรับกันได้...
เมื่อมีโอกาสเดินไปในทางที่ดีก็ไม่มีใครอยากเป็นโจรหรอกครับ...ถ้าเศรษฐกิจโดยรวมไม่ดีสิ เรื่องผิดกฏหมายจึงจะตามมาเยอะๆ
ถึงตอนนั้น.... ประชาชนเขามีความมั่นคงในระดับหนึ่ง...เขาก็จะมีแรงจูงใจศึกษาในสิ่งที่เขาสนใจกันเองครับ
3. ถ้าประเทศได้โครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมและสื่อสารดีมากๆแล้ว...
การกระจายปัจจัยสี่ก็ไม่ยาก...เมื่อสังคมมีพื้นฐานปัจจัยสี่ไกล้เคียงกัน...
พ้นจากยุคนี้ไปทิศทางการพัฒนาจึงจะสามารถอิงการศึกษานำหน้าไปได้
เพราะจะกลายเป็นยุคองค์ความรู้ เมื่อไรที่บริษัทเล็กๆ ต่างก็สามารถทำ R&D ทำงานเฉพาะทางกันได้ไม่ยากนัก
ทำกันได้ทั่วถึง นั่นหละครับจึงจะเป็นยุคการศึกษาของแท้
ไอ้ที่เรียนมหาลัยกันอยุ่ตอนนี้ไม่ใช่ครับ.. มันเป็นยุคการศึกษากลวงๆ เพราะเน้นแค่ครึ่งเดียว...
------ สิ่งที่นักเรียนส่วนใหญ่ในปัจจุบันทำมันเป็นแค่การเสพหลักสูตรการศึกษา มันคือการเสพชัดๆเลย
ไม่ใช่การเรียนฝึกฝนเพื่อสร้างต่อยอดหรือแม้แต่จะผสานองค์ความรู้พื้นฐานก็ยังทำกันไม่ค่อยได้เลย----
มันเป็นเพียงค่านิยมที่ทำให้คนหลงไปกับวุฒิบัตร จบจากมหาลัยเมื่อไรก็ตื่นจากความฝันกันเมื่อนั้น
แล้วองค์กรที่รับเด็กจบใหม่ก็รับช่วงแบกภาระความอ่อนด้อยอันนี้ต่อไปอีก...
ถ้าเป็นคนที่ทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยพวกนี้จะโชคดีหน่อยคือหลับๆตื่นๆ
หรือตื่นก่อนคนอื่น...ต่อให้วิชาการไม่ค่อยได้เรื่องก็ยังพอเอาตัวรอดได้
พวกที่บ้าการศึกษาผิดกาละเทศะในยุคยี่สิบปีที่ผ่านมานี้...เกินครึ่งจบการศึกษามาเพื่อเจ็บตัวทั้งนั้น