ผมเดาเอาครับ มั่วๆเอา
การศึกษาขั้นพื้นฐานในปัจจุบัน จะมีหลักสูตรแกนกลาง คือสิ่งที่เด็กทุกๆคนต้องได้เรียนรู้เหมือนๆกันทั้งประเทศ
โดยกำหนดจุดมุ่งหมาย เช่นเด็กๆต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีสมรรถนะ ต่างๆถึงจะจบหลักสูตร
จากนั้นก็จะให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งสถานศึกษาแต่ละที่จะต้องจัดขึ้นตามความเหมาะสม
ตามปัจัยแวดล้อมของสถานศึกษาแต่ต้องอิงจากหลักสูตรแกนกลาง
อีกโรงเรียนมาดูหลักสูตรของอีกโรงเรียน บอกว่า เฮ้ยผิด อีกโรงเรียนก็บอกว่า ไม่ผิดนะ นี่ไง วิชานี้เรื่อง.........
นี่ไงคุณลักษณะ นี่ไงสมรรถนะ ครบนะ จบนะ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางทุกอย่าง
คราวนี้อีกโรงเรียนต้องเปิดใจมองว่า เออว่ะจริงของเขา ไม่ผิดๆแค่คนละวิธี
ผมมองว่า พระไตรปิฎก ก็เหมือนกับหลักสูตรแกนกลางของชาวพุทธ
โดยหลักสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เราพ้นจากกิเลส (จะเรียกว่านิพพานหรืออะไรผมก็ไม่รู้เหมือนกันครับ)
จากนั้นก็ให้แต่ละคนไปกำหนดหลักสูตร(แนวทาง)ของตัวเอง แล้วแต่การตีความ แล้วแต่ระดับสติปัญญา ประสบการณ์
สิ่งนี้แหละที่จะทำให้เกิดความแตกต่างในแนวทาง จนอาจจะทำให้เกิดความแตกแยกทาง"ความคิด"
ซึ่งถ้าพูดกันในเรื่องของความคิดนั้น เราก็ควรเข้าใจว่า "มันไม่มีถูกไม่มีผิด"
มันคือการตีความตามประสบการณ์และระดับสติปัญญา การจะดูว่ามีการบิดเบือนหลักสูตรหรือไม่นั้น
ขอให้ดูที่ว่ามันตรงตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ ไม่ใช่ไปดูที่กระบวนการ ตัวอย่างเช่น ถามว่าท่านนั่งสมาธิ ภาวนาเพื่ออะไร
ถ้าท่านได้ตำตอบว่า"นั่งแล้วได้บุญมาก เสริมบารมี" นั่นก็หมายถึง หลักสูตรแกนกลางนั้น"ถูกบิดเบือนไป"
ดังนั้นอยากให้พวกเรา ดูที่ "จุดมุ่งหมาย" มากกว่าดูที่ "วิธีการ" เพราะมันจะไม่ทำให้เกิด "ความขัดแย้ง"ขึ้นมา
อยากให้คนไทยรักกัน อยากให้ชาวพุทธรักกัน อยากให้ชาวโลกรักกัน
หลักสูตรแกนกลางนั้นหรือ คือ พระไตรปิฎก
การศึกษาขั้นพื้นฐานในปัจจุบัน จะมีหลักสูตรแกนกลาง คือสิ่งที่เด็กทุกๆคนต้องได้เรียนรู้เหมือนๆกันทั้งประเทศ
โดยกำหนดจุดมุ่งหมาย เช่นเด็กๆต้องมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีสมรรถนะ ต่างๆถึงจะจบหลักสูตร
จากนั้นก็จะให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งสถานศึกษาแต่ละที่จะต้องจัดขึ้นตามความเหมาะสม
ตามปัจัยแวดล้อมของสถานศึกษาแต่ต้องอิงจากหลักสูตรแกนกลาง
อีกโรงเรียนมาดูหลักสูตรของอีกโรงเรียน บอกว่า เฮ้ยผิด อีกโรงเรียนก็บอกว่า ไม่ผิดนะ นี่ไง วิชานี้เรื่อง.........
นี่ไงคุณลักษณะ นี่ไงสมรรถนะ ครบนะ จบนะ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางทุกอย่าง
คราวนี้อีกโรงเรียนต้องเปิดใจมองว่า เออว่ะจริงของเขา ไม่ผิดๆแค่คนละวิธี
ผมมองว่า พระไตรปิฎก ก็เหมือนกับหลักสูตรแกนกลางของชาวพุทธ
โดยหลักสูตรนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เราพ้นจากกิเลส (จะเรียกว่านิพพานหรืออะไรผมก็ไม่รู้เหมือนกันครับ)
จากนั้นก็ให้แต่ละคนไปกำหนดหลักสูตร(แนวทาง)ของตัวเอง แล้วแต่การตีความ แล้วแต่ระดับสติปัญญา ประสบการณ์
สิ่งนี้แหละที่จะทำให้เกิดความแตกต่างในแนวทาง จนอาจจะทำให้เกิดความแตกแยกทาง"ความคิด"
ซึ่งถ้าพูดกันในเรื่องของความคิดนั้น เราก็ควรเข้าใจว่า "มันไม่มีถูกไม่มีผิด"
มันคือการตีความตามประสบการณ์และระดับสติปัญญา การจะดูว่ามีการบิดเบือนหลักสูตรหรือไม่นั้น
ขอให้ดูที่ว่ามันตรงตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ ไม่ใช่ไปดูที่กระบวนการ ตัวอย่างเช่น ถามว่าท่านนั่งสมาธิ ภาวนาเพื่ออะไร
ถ้าท่านได้ตำตอบว่า"นั่งแล้วได้บุญมาก เสริมบารมี" นั่นก็หมายถึง หลักสูตรแกนกลางนั้น"ถูกบิดเบือนไป"
ดังนั้นอยากให้พวกเรา ดูที่ "จุดมุ่งหมาย" มากกว่าดูที่ "วิธีการ" เพราะมันจะไม่ทำให้เกิด "ความขัดแย้ง"ขึ้นมา
อยากให้คนไทยรักกัน อยากให้ชาวพุทธรักกัน อยากให้ชาวโลกรักกัน