เนื่องจากระทู้ตกไปเร็วมาก จำขอนำมาแตกประเด็นในที่นี้
http://ppantip.com/topic/31425326/comment7-1
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แต่ผมอ่านบทความแล้วผมค่อนข้างจะงง
การลงคะแนนแบบอิเล็คโทรนิคส์เกี่ยวอะไรกับสิทธิเสรีภาพและคุณภาพของการใช้สิทธิใช้เสียง
สองเรื่องนี้เป็นคนล่ะเรื่องกัน ควรจับประเด็นของเรื่อง ให้ชัดเจน
อาจจะแยกเป็น
-ปัญหาที่เกิดขึ้น
-สมมุติฐาน
-แนวทางแก้ไข
เป็นต้น
๑.
การลงคะแนนผ่านระบบ สหรัฐอเมริกาเคยทดลองใช้ไปแล้ว
แต่เท่าที่ทราบยังไม่เปิดใช้อย่างเป็นทางการ
ปัญหาไม่ได้อยู่ที่เครื่อง แต่เป็น "ความเชื่อมั่นในระบบ"
ข้อมูลถูก hack ได้หรือไม่? มีความสเถียรเพียงใด?
ซึ่งต่อให้อธิบายอย่างไรก็คงไม่มีประโยชน์จนกว่าจะมีความมั่นใจ
(เช่นเดียวกับการใช้ ATM ทุกวันนี้)
๒.
ในระบบประชาธิปไตย โดยเป้าหมายคือการ serv. คนกลุ่มใหญ่
โดยระบบมันไม่สนใจคุณภาพ ไม่สนใจว่าฉลาดหรือโง่ แต่สนใจเฉพาะปัญหา(และการแก้ไข) โดยตั้งอยู่บนสมมุติฐานของ"พลวัติ"
ยกตัวอย่าง ถ้าคนส่วนใหญ่เป็นชาวนา คนที่ถูกเลือกขึ้นมาก็ควรเป็นคนที่ชาวนาเลือกเพื่อมาแก้ปัญหาของชาวนา
เมื่อปัญหาถูกแก้ไป คนส่วนใหญ่เห็นว่าปัญหารถติดเป็นเรื่องสำคัญ ก็เลือกคนขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหารถติด
และ แก้ปัญหาอื่นๆต่อๆไป
แก้ได้ดีก็ผ่านไป แก้ไม่ดีก็เลือกคนใหม่ขึ้นมาแก้
ก่อนอื่นต้องเข้าใจ"ระบบประชาธิปไตย"ตรงนี้ก่อน
จึงต้องเข้าใจว่า ทำไมจึงต้องเคารพเสียงส่วนใหญ่
(คนดี คนเลว คนฉลาด คนโง่ ผมเคยเขียนเป็นบทความไว้แล้ว อยู่ตรงไหนจำไม่ได้แล้ว แต่โดยสรุปคือ ทั้งหมดที่อ้างมา วัดไม่ได้จริง ประชาธิปไตยจึงไปจบที่ ๑คน๑สิทธิ๑เสียง เพราะถือว่าความเป็นคนเท่ากัน ครับ)
๓.
กรณีเลือกตั้งอิเล็คโทรนิคแก้ปัญหาอะไร
ผมมองเห็นอยู่อย่างเดียวคือลดเวลานับคะแนน
แต่ก็อย่างที่บอกมันเป็นเรื่อง"ความเชื่อมั่น"
ขนาดผมทำงานโปรแกรมมิ่ง ผมยิ่งไม่เชื่อมั่น เพราะผมรู้ว่าระบบ มันมี bug ได้, มัน hack ได้ เป็นเรื่องธรรมดา
ถ้าในแง่ ประชาธิปไตยทางตรง
ผมมองว่าต้อง set ระบบจนสามารถ indentify ตัวบุคคลได้ แล้วจะมีประโยชน์
แต่ปัญหา identity thief ยังมีอยู่ คงยังไม่เกิดเร็วๆนี้
แต่ ประชาธิปไตยทางตรง ก็จะมีประโยชน์ในบางเรื่องเท่านั้น เช่นการเลือกตั้ง การทำประชาพิจารณ์
เพราะคงให้ประชาชนทุกคนมานั่งออกกฎหมาย รับร่างกฎหมาย ทุกฉบับ คงเป็นไปไม่ได้ (ไม่ต้องทำงานทำการกันพอดี)
ฉะนั้น ประชาธิปไตยทางอ้อม ก็ยังคงต้องมีอยู่ เป็นการแบ่งงานกันทำ
โดยสรุป
ผมขอย้ำว่า
เผด็จการเสียงข้างมาก ไม่มี เป็นเพียงวาทะกรรม
เผด็จการเสียงข้างน้อย นั่นแหล่ะ เผด็จการ
อ่านใน blog และ กระทู้เก่าๆ ของผมได้ ส่วนใหญ่น่าจะอธิบายแนวคิดของผมไว้หมดแล้ว
_________________________________________________________________________________________________
ความคิดเห็นที่ 7-1
การที่ใช้การลงคะแนนผ่านระบบอินเตอร์เน็ท เป็นวิธีการที่จะได้ประชาธิปไตยจริงๆมาใช้ครับ (แค่อีเล็กทรอนิกส์อย่างเดียวไม่พอ)
และปัญหา ในลัทธิบูชาผลไม่สนใจของเหตุในการเริ่มต้นจะเริ่มจาก
- ผลร้ายที่เกิด ท.
- เหตุของผลร้าย ส.
- ผลดีที่ต้องการ น.
- เหตุนำพาให้เกิดผลดี ม.
ท.
เริ่มจากการใช้วาทะกรรมที่ว่า "3 แสนเสียงของกทม.แต่เป็นเสียงที่มีคุณภาพ ย่อมดีกว่า 15 ล้านเสียงในตจว. แต่ไร้คุณภาพ"
ส.
เพราะัดูเหมือนคนตจว.มีการศึกษาน้อยใช้เวลาในการหาเลี้ยงชีวิต ก็จะหมดเวลาไปในหนึ่งวันแล้ว แต่บางครั้งคนกทม.ก็เอาหูไปนาเอาตาไปไร่ ในเรื่องทุจริตที่มีผลประโยชน์กับตัวเอง แต่คนทั้งสองจำพวกเรียกได้ว่าขาดคำ "หน้าที่พลเมือง" ที่ต้องสนใจเรื่องราวในสภาเมืองด้วยกันทั้งคู่ และจะออกมาเรียกร้องเวลาที่เกิดผลเสียกับตนเท่านั้น
น.
ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับสภาเมืองให้มากพอ แต่ไม่เป็นภาระที่หนักเกินไป ผมเคยคิดให้มีการโหวตสัปดาห์ละครั้งด้วยซ้ำ เพื่อการแสดงการรับผิดชอบ แต่พระภิกษุมีประเพณีที่ต้องมาลงโรงอุโบสถ์ปักษ์ ละหนึ่งครั้ง เพื่อฟังและทบทวนพระวินัยแม้ในระดับพระพุทธเจ้าก็ต้องมาลง ดังนั้นหากมีการรักษาสิทธิด้วยการมาโหวตทุกปักษ์ ปีหนึ่ง 26 ครั้ง รัฐบาลวาระหนึ่ง จะมีการโหวตแบบนี้ ๑๐๔ ครั้ง ขาดหนึ่งครั้งถูกตัดสิทธิจนกว่าจะมีการยุบสภา ก็จะเป็นการแสดงได้ว่า 3 แสนเสียงของกทม. กับ 15 ล้านเสียงในตจว. เสียงของคนจำพวกไหนรับผิดชอบต่อสภาเมืองมากกว่ากัน
ม.
จำต้องมีระบบเลือกตั้งที่ถูก จัดได้ ๑๐๔ ครั้ง ในวงเงิน 3,817 ล้านบาท และการที่เปิดให้ลงคะแนนเวลา ๑๒ นาฬิกา จนถึง ๑๘ นาฬิกา ทุกวัน ตลอดปักษ์ จำนวนหนึ่งคูหาอาจรับรองประชาชนได้มากกว่า ๕๐๐ คน ตีเสียว่า วันละ ๑๐๐ คน ๑๕ วัน ๑,๕๐๐ จำนวนคูหาที่ต้องการอาจไม่ถึง ๑ แสนหน่วยเลือกตั้ง แบบการเลือกตั้งปกติ
คราวนี้ลองมาตอบปัญหากัน
ข้อที่๑ "ความเชื่อมั่นในระบบ"
อินเตอร์เน็ทถูกใช้เพียงให้ประชาชนมีความสะดวกไม่ต้องกลับไปในพื้นที่เท่านั้น โดยการส่งข้อมูลยืนยันบอกว่านายคนนี้ได้มาเลือกตั้งแล้ว และ SMS ไปบอกเพื่อการยืนยัน ๒ ชั้น ในเบื้องต้น แต่ระบบบันทึกคะแนนยังเป็นกระดาษอยู่ แต่อำนวยความสะดวกในคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ด้วยเท่านั้น และเพิ่มความเชื่อมั่นด้วยการให้ตู้อัพโหลดผลคะแนนรวมไปทุก ๒-๓ ชั่วโมงหรือมีคนมาลงคะแนนในระดับหนึ่ง และท้ายที่สุดหากผลสองอย่างไม่ตรงกันจริงๆ ก้ยังสามารถใช้คนนับ เป็นผลตัดสิน ๒ ใน ๓ ได้ครับ และคนนับก็ไม่จำเป็นต้องนับทุกตู้ ทำให้ประหยัดงบประมาณไปได้อีกส่วนหนึ่ง
ข้อที่๒ โดยตั้งอยู่บนสมมุติฐานของ"พลวัติ"
เรื่องการเลือกตั้งทางตรงมันเป็นเพียงประตูบานแรก ของระบอบการปกครองใหม่ ที่เปลี่ยนอธิปไตย ๓ ให้กลายเป้นอธิปไตย ๕ อันประกอบด้วย ความสัทธาไม่เกรงกลัวต่อการชี้นำสังคม อำนาจการปกครอง อำนาจในการตักเตือน อำนาจในการตรวจสอบ และอำนาจในการตัดสินความคิด แต่อำนาจทั้ง ๕ ล้วนต้อง เสนอชื่อ สะกด ค้านอำนาจ และปกป้อง กันและกันอยู่ในที ที่สำคัญ ระบอบใหม่ที่ว่าจะอยู่ไม่ได้หากประชาชนไม่เอาด้วย ด้วยการมีการเสนอชื่อไม่ไว้วางใจ แต่ประเด็นสำคัญอยู่ที่นอกจากต้องรักษาฐานคะแนนแล้ว ยังต้องรักษาคุณภาพ ไม่ให้ฐา่นคะแนนโดดไม่ไปลงใช้สิทธิอีกด้วย ดังนั้น คำว่า "พลวัติ" ไม่เพียงพอ แต่ต้องมีคำว่า "หน้าที่" ตามพระราชดำรัสด้วย
ข้อที่๓ การเลือกตั้ง การทำประชาพิจารณ์
ใช่ครับเพียงเรื่อง การเลือกตั้ง (ทั้งท้องถิ่นและทั่วประเทศ) การทำประชาพิจารณ์ และการสำรวจความนิยมของสส. และเรื่องการลงมติไม่ไว้วางใจก็น่าจะเพียงพอแล้ว
พรบ. เป็นไม้ตายสุดท้ายของรัฐบาลที่จะใช้ออกมา ในกรณีที่รัฐบาลเป็นเสียงข้างน้อย เลยในเสียงหนุนจากประชาชนโดยตรง (ไม่มีผู้แทนคนไหนออกกฏหมายมาทำร้ายตัวเองหรอก)
และการไม่วางใจ ก็เป็นไม้ตายสุดท้ายของฝ่ายค้าน ในกรณีที่เป็นเสียงข้างน้อย แต่หลักฐานตีแสกหน้าจริงๆ และรัฐบาลโมเมจนเอาตัวรอดจากระบบรัฐสภามาได้ มันจะเป็นเผด็จศึกเด็จขาด โดยไม่ต้องทำการเลือกตั้งใหม่ แต่ให้เปลี่ยนนายกที่ไม่จำเป็นเสียงข้างมากในการสนับสนุน แต่นโยบายตรงใจประชาชนจริงๆ
ตอบกลับ
0 0
จิตตะวุฑฒ์
siek Ep 1 R1
http://ppantip.com/topic/31425326/comment7-1
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
แต่ผมอ่านบทความแล้วผมค่อนข้างจะงง
การลงคะแนนแบบอิเล็คโทรนิคส์เกี่ยวอะไรกับสิทธิเสรีภาพและคุณภาพของการใช้สิทธิใช้เสียง
สองเรื่องนี้เป็นคนล่ะเรื่องกัน ควรจับประเด็นของเรื่อง ให้ชัดเจน
อาจจะแยกเป็น
-ปัญหาที่เกิดขึ้น
-สมมุติฐาน
-แนวทางแก้ไข
เป็นต้น
๑.
การลงคะแนนผ่านระบบ สหรัฐอเมริกาเคยทดลองใช้ไปแล้ว
แต่เท่าที่ทราบยังไม่เปิดใช้อย่างเป็นทางการ
ปัญหาไม่ได้อยู่ที่เครื่อง แต่เป็น "ความเชื่อมั่นในระบบ"
ข้อมูลถูก hack ได้หรือไม่? มีความสเถียรเพียงใด?
ซึ่งต่อให้อธิบายอย่างไรก็คงไม่มีประโยชน์จนกว่าจะมีความมั่นใจ
(เช่นเดียวกับการใช้ ATM ทุกวันนี้)
๒.
ในระบบประชาธิปไตย โดยเป้าหมายคือการ serv. คนกลุ่มใหญ่
โดยระบบมันไม่สนใจคุณภาพ ไม่สนใจว่าฉลาดหรือโง่ แต่สนใจเฉพาะปัญหา(และการแก้ไข) โดยตั้งอยู่บนสมมุติฐานของ"พลวัติ"
ยกตัวอย่าง ถ้าคนส่วนใหญ่เป็นชาวนา คนที่ถูกเลือกขึ้นมาก็ควรเป็นคนที่ชาวนาเลือกเพื่อมาแก้ปัญหาของชาวนา
เมื่อปัญหาถูกแก้ไป คนส่วนใหญ่เห็นว่าปัญหารถติดเป็นเรื่องสำคัญ ก็เลือกคนขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหารถติด
และ แก้ปัญหาอื่นๆต่อๆไป
แก้ได้ดีก็ผ่านไป แก้ไม่ดีก็เลือกคนใหม่ขึ้นมาแก้
ก่อนอื่นต้องเข้าใจ"ระบบประชาธิปไตย"ตรงนี้ก่อน
จึงต้องเข้าใจว่า ทำไมจึงต้องเคารพเสียงส่วนใหญ่
(คนดี คนเลว คนฉลาด คนโง่ ผมเคยเขียนเป็นบทความไว้แล้ว อยู่ตรงไหนจำไม่ได้แล้ว แต่โดยสรุปคือ ทั้งหมดที่อ้างมา วัดไม่ได้จริง ประชาธิปไตยจึงไปจบที่ ๑คน๑สิทธิ๑เสียง เพราะถือว่าความเป็นคนเท่ากัน ครับ)
๓.
กรณีเลือกตั้งอิเล็คโทรนิคแก้ปัญหาอะไร
ผมมองเห็นอยู่อย่างเดียวคือลดเวลานับคะแนน
แต่ก็อย่างที่บอกมันเป็นเรื่อง"ความเชื่อมั่น"
ขนาดผมทำงานโปรแกรมมิ่ง ผมยิ่งไม่เชื่อมั่น เพราะผมรู้ว่าระบบ มันมี bug ได้, มัน hack ได้ เป็นเรื่องธรรมดา
ถ้าในแง่ ประชาธิปไตยทางตรง
ผมมองว่าต้อง set ระบบจนสามารถ indentify ตัวบุคคลได้ แล้วจะมีประโยชน์
แต่ปัญหา identity thief ยังมีอยู่ คงยังไม่เกิดเร็วๆนี้
แต่ ประชาธิปไตยทางตรง ก็จะมีประโยชน์ในบางเรื่องเท่านั้น เช่นการเลือกตั้ง การทำประชาพิจารณ์
เพราะคงให้ประชาชนทุกคนมานั่งออกกฎหมาย รับร่างกฎหมาย ทุกฉบับ คงเป็นไปไม่ได้ (ไม่ต้องทำงานทำการกันพอดี)
ฉะนั้น ประชาธิปไตยทางอ้อม ก็ยังคงต้องมีอยู่ เป็นการแบ่งงานกันทำ
โดยสรุป
ผมขอย้ำว่า
เผด็จการเสียงข้างมาก ไม่มี เป็นเพียงวาทะกรรม
เผด็จการเสียงข้างน้อย นั่นแหล่ะ เผด็จการ
อ่านใน blog และ กระทู้เก่าๆ ของผมได้ ส่วนใหญ่น่าจะอธิบายแนวคิดของผมไว้หมดแล้ว
_________________________________________________________________________________________________
ความคิดเห็นที่ 7-1
การที่ใช้การลงคะแนนผ่านระบบอินเตอร์เน็ท เป็นวิธีการที่จะได้ประชาธิปไตยจริงๆมาใช้ครับ (แค่อีเล็กทรอนิกส์อย่างเดียวไม่พอ)
และปัญหา ในลัทธิบูชาผลไม่สนใจของเหตุในการเริ่มต้นจะเริ่มจาก
- ผลร้ายที่เกิด ท.
- เหตุของผลร้าย ส.
- ผลดีที่ต้องการ น.
- เหตุนำพาให้เกิดผลดี ม.
ท.
เริ่มจากการใช้วาทะกรรมที่ว่า "3 แสนเสียงของกทม.แต่เป็นเสียงที่มีคุณภาพ ย่อมดีกว่า 15 ล้านเสียงในตจว. แต่ไร้คุณภาพ"
ส.
เพราะัดูเหมือนคนตจว.มีการศึกษาน้อยใช้เวลาในการหาเลี้ยงชีวิต ก็จะหมดเวลาไปในหนึ่งวันแล้ว แต่บางครั้งคนกทม.ก็เอาหูไปนาเอาตาไปไร่ ในเรื่องทุจริตที่มีผลประโยชน์กับตัวเอง แต่คนทั้งสองจำพวกเรียกได้ว่าขาดคำ "หน้าที่พลเมือง" ที่ต้องสนใจเรื่องราวในสภาเมืองด้วยกันทั้งคู่ และจะออกมาเรียกร้องเวลาที่เกิดผลเสียกับตนเท่านั้น
น.
ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับสภาเมืองให้มากพอ แต่ไม่เป็นภาระที่หนักเกินไป ผมเคยคิดให้มีการโหวตสัปดาห์ละครั้งด้วยซ้ำ เพื่อการแสดงการรับผิดชอบ แต่พระภิกษุมีประเพณีที่ต้องมาลงโรงอุโบสถ์ปักษ์ ละหนึ่งครั้ง เพื่อฟังและทบทวนพระวินัยแม้ในระดับพระพุทธเจ้าก็ต้องมาลง ดังนั้นหากมีการรักษาสิทธิด้วยการมาโหวตทุกปักษ์ ปีหนึ่ง 26 ครั้ง รัฐบาลวาระหนึ่ง จะมีการโหวตแบบนี้ ๑๐๔ ครั้ง ขาดหนึ่งครั้งถูกตัดสิทธิจนกว่าจะมีการยุบสภา ก็จะเป็นการแสดงได้ว่า 3 แสนเสียงของกทม. กับ 15 ล้านเสียงในตจว. เสียงของคนจำพวกไหนรับผิดชอบต่อสภาเมืองมากกว่ากัน
ม.
จำต้องมีระบบเลือกตั้งที่ถูก จัดได้ ๑๐๔ ครั้ง ในวงเงิน 3,817 ล้านบาท และการที่เปิดให้ลงคะแนนเวลา ๑๒ นาฬิกา จนถึง ๑๘ นาฬิกา ทุกวัน ตลอดปักษ์ จำนวนหนึ่งคูหาอาจรับรองประชาชนได้มากกว่า ๕๐๐ คน ตีเสียว่า วันละ ๑๐๐ คน ๑๕ วัน ๑,๕๐๐ จำนวนคูหาที่ต้องการอาจไม่ถึง ๑ แสนหน่วยเลือกตั้ง แบบการเลือกตั้งปกติ
คราวนี้ลองมาตอบปัญหากัน
ข้อที่๑ "ความเชื่อมั่นในระบบ"
อินเตอร์เน็ทถูกใช้เพียงให้ประชาชนมีความสะดวกไม่ต้องกลับไปในพื้นที่เท่านั้น โดยการส่งข้อมูลยืนยันบอกว่านายคนนี้ได้มาเลือกตั้งแล้ว และ SMS ไปบอกเพื่อการยืนยัน ๒ ชั้น ในเบื้องต้น แต่ระบบบันทึกคะแนนยังเป็นกระดาษอยู่ แต่อำนวยความสะดวกในคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ด้วยเท่านั้น และเพิ่มความเชื่อมั่นด้วยการให้ตู้อัพโหลดผลคะแนนรวมไปทุก ๒-๓ ชั่วโมงหรือมีคนมาลงคะแนนในระดับหนึ่ง และท้ายที่สุดหากผลสองอย่างไม่ตรงกันจริงๆ ก้ยังสามารถใช้คนนับ เป็นผลตัดสิน ๒ ใน ๓ ได้ครับ และคนนับก็ไม่จำเป็นต้องนับทุกตู้ ทำให้ประหยัดงบประมาณไปได้อีกส่วนหนึ่ง
ข้อที่๒ โดยตั้งอยู่บนสมมุติฐานของ"พลวัติ"
เรื่องการเลือกตั้งทางตรงมันเป็นเพียงประตูบานแรก ของระบอบการปกครองใหม่ ที่เปลี่ยนอธิปไตย ๓ ให้กลายเป้นอธิปไตย ๕ อันประกอบด้วย ความสัทธาไม่เกรงกลัวต่อการชี้นำสังคม อำนาจการปกครอง อำนาจในการตักเตือน อำนาจในการตรวจสอบ และอำนาจในการตัดสินความคิด แต่อำนาจทั้ง ๕ ล้วนต้อง เสนอชื่อ สะกด ค้านอำนาจ และปกป้อง กันและกันอยู่ในที ที่สำคัญ ระบอบใหม่ที่ว่าจะอยู่ไม่ได้หากประชาชนไม่เอาด้วย ด้วยการมีการเสนอชื่อไม่ไว้วางใจ แต่ประเด็นสำคัญอยู่ที่นอกจากต้องรักษาฐานคะแนนแล้ว ยังต้องรักษาคุณภาพ ไม่ให้ฐา่นคะแนนโดดไม่ไปลงใช้สิทธิอีกด้วย ดังนั้น คำว่า "พลวัติ" ไม่เพียงพอ แต่ต้องมีคำว่า "หน้าที่" ตามพระราชดำรัสด้วย
ข้อที่๓ การเลือกตั้ง การทำประชาพิจารณ์
ใช่ครับเพียงเรื่อง การเลือกตั้ง (ทั้งท้องถิ่นและทั่วประเทศ) การทำประชาพิจารณ์ และการสำรวจความนิยมของสส. และเรื่องการลงมติไม่ไว้วางใจก็น่าจะเพียงพอแล้ว
พรบ. เป็นไม้ตายสุดท้ายของรัฐบาลที่จะใช้ออกมา ในกรณีที่รัฐบาลเป็นเสียงข้างน้อย เลยในเสียงหนุนจากประชาชนโดยตรง (ไม่มีผู้แทนคนไหนออกกฏหมายมาทำร้ายตัวเองหรอก)
และการไม่วางใจ ก็เป็นไม้ตายสุดท้ายของฝ่ายค้าน ในกรณีที่เป็นเสียงข้างน้อย แต่หลักฐานตีแสกหน้าจริงๆ และรัฐบาลโมเมจนเอาตัวรอดจากระบบรัฐสภามาได้ มันจะเป็นเผด็จศึกเด็จขาด โดยไม่ต้องทำการเลือกตั้งใหม่ แต่ให้เปลี่ยนนายกที่ไม่จำเป็นเสียงข้างมากในการสนับสนุน แต่นโยบายตรงใจประชาชนจริงๆ
ตอบกลับ
0 0
จิตตะวุฑฒ์