มาตร 9 วรรค 2 ในกรณีที่นายจ้างจงใจไม่คืนหรือไม่จ่ายเงินตามวรรคหนึ่งโดยปราศจากเหตุผลอันสมควรเมื่อพ้นกำหนดเวลาเจ็ดวันนับแต่วันที่ ถึงกำหนดคืนหรือจ่ายให้นายจ้างเสียเงินเพิ่มให้ลูกจ้างร้อยละสิบห้าของเงินที่ค้างจ่ายทุกระยะเวลาเจ็ดวัน
1.เสียดอกเบี้ย ให้แก่ลูกจ้างในระหว่างผิดนัดในอัตราร้อยละ 18 ต่อปี นับแต่วันที่ ถึงกำหนดให้จ่ายตามกฎหมาย
2. เสียเงินเพิ่ม ให้แก่ลูกจ้าง เมื่อพ้นกำหนดเวลา 7 วัน นับแต่วันที่ถึงกำหนดให้จ่ายตามกฎหมาย ในอัตราร้อยละ 15 ทุกระยะ 7 วัน
คำถาม
1 กรณีออกจากงานแล้ว อยู่ในขั้นตอนร้องเรียนเมื่อสิ้นสุด พนักงานหรือศาล สั่งให้จ่าย ดอกเบี้ยจะนับตั้งแต่ วันที่ออกจากงานหรือศาลสั่ง
(ส่วนตัวคิดว่าน่าจะนับตอนออกจากงาน)
2 และในกรณีแบบไหนถึงจะเสียเงินเพิ่ม
2.1 เช่น ศาลสั่งแล้ว 7 วันไม่จ่ายต้องเสียเงินเพิ่ม (ส่วนตัวคิดว่าน่าจะโดน)
2.2 หรือ จงใจไม่จ่ายแต่แรกปล่อยดึงเรื่องหลายเดือนจนกว่าศาลสั่งค่อยไปจ่าย (อันนี้สงสัยว่าจะโดนเงินเพิ่มหรือไม่)
3 ถ้าโดนเงินเพิ่มจะนับตั้งแต่วันไหน
** เรื่องเงินประกันการทำงาน บริษัทไม่มีสิทธิเก็บแต่ เค้าเก็บจะเอาผิดอะไรได้บ้าง ใครจะเป็นคนเอาผิด
มาตรา 144 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ถามกฎหมายแรงงาน มาตรา 9 และ 10
1.เสียดอกเบี้ย ให้แก่ลูกจ้างในระหว่างผิดนัดในอัตราร้อยละ 18 ต่อปี นับแต่วันที่ ถึงกำหนดให้จ่ายตามกฎหมาย
2. เสียเงินเพิ่ม ให้แก่ลูกจ้าง เมื่อพ้นกำหนดเวลา 7 วัน นับแต่วันที่ถึงกำหนดให้จ่ายตามกฎหมาย ในอัตราร้อยละ 15 ทุกระยะ 7 วัน
คำถาม
1 กรณีออกจากงานแล้ว อยู่ในขั้นตอนร้องเรียนเมื่อสิ้นสุด พนักงานหรือศาล สั่งให้จ่าย ดอกเบี้ยจะนับตั้งแต่ วันที่ออกจากงานหรือศาลสั่ง
(ส่วนตัวคิดว่าน่าจะนับตอนออกจากงาน)
2 และในกรณีแบบไหนถึงจะเสียเงินเพิ่ม
2.1 เช่น ศาลสั่งแล้ว 7 วันไม่จ่ายต้องเสียเงินเพิ่ม (ส่วนตัวคิดว่าน่าจะโดน)
2.2 หรือ จงใจไม่จ่ายแต่แรกปล่อยดึงเรื่องหลายเดือนจนกว่าศาลสั่งค่อยไปจ่าย (อันนี้สงสัยว่าจะโดนเงินเพิ่มหรือไม่)
3 ถ้าโดนเงินเพิ่มจะนับตั้งแต่วันไหน
** เรื่องเงินประกันการทำงาน บริษัทไม่มีสิทธิเก็บแต่ เค้าเก็บจะเอาผิดอะไรได้บ้าง ใครจะเป็นคนเอาผิด
มาตรา 144 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ