กล่าวถึงอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญในการวินิจฉัยประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา ผ่านรายการ "เจาะข่าวเด่น" ดู
- อ่าน -
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๑
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ (๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่า ด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอา เสียงข้างมากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่า กึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
ศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2554 เรื่อง พิจารณาที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 23 ก.พ 2554 ได้มีคำอธิบายชัดเจนว่า
อำนาจการสถาปนาหรือแก้ไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ เป็นเอกสิทธและดุลพินิจของรัฐสภา ที่ทำในรูปแบบของยัตติ เสนอ เป็นร่างแก้ไขเพิ่มเติม ไม่ไช่ รูปแบบของพระราชบัญัติ(พ.ร.บ.) โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นรายมาตรา ตามมาตรา 291 ที่รัฐสภากำลังดำเนินการอยู่ไม่ได้บัญญัติให้นำ มาตรา 154 ซึ่งเป็นบทบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการตรา พ.ร.บ. มิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาบังคับใช้ จึงชัดเจนว่า ศาลรัฐธรรมนูญไม่สามารถรับ คำร้องตรงนี้ได้ หรือ จะขับรถ คร่อมเลนด้วยการใช้มาตรา 154 มาพิจารณากรณีนี้ไม่ได้
และ
ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจใดมายับยั้งกระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่รัฐบาลเดินมาจนถึงบัดนี้ได้ ตนขอยืนยันว่า ประธานทั้ง 2 คน และสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดได้ทำตามอำนาจหน้าที่ ไม่มีใครทำผิดอะไร
ขอบคุณข้อมูลจากหนังสือ
"วิวาทะ"
เรื่องนี้คนแก่ที่นั่งตัดสิน "ไม่รู้" หรือ "แสร้งไม่รู้" ช่วยกันแชร์หน่อยค่ะ
กล่าวถึงอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญในการวินิจฉัยประเด็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา ผ่านรายการ "เจาะข่าวเด่น" ดู
- อ่าน -
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวด ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๑
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ (๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิก ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่า ด้วย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้
(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภา พิจารณาเป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอา เสียงข้างมากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่า กึ่งหนึ่ง ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับ โดยอนุโลม
ศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2554 เรื่อง พิจารณาที่ 4/2554 เมื่อวันที่ 23 ก.พ 2554 ได้มีคำอธิบายชัดเจนว่า
อำนาจการสถาปนาหรือแก้ไขเพิ่มเติม รัฐธรรมนูญ เป็นเอกสิทธและดุลพินิจของรัฐสภา ที่ทำในรูปแบบของยัตติ เสนอ เป็นร่างแก้ไขเพิ่มเติม ไม่ไช่ รูปแบบของพระราชบัญัติ(พ.ร.บ.) โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นรายมาตรา ตามมาตรา 291 ที่รัฐสภากำลังดำเนินการอยู่ไม่ได้บัญญัติให้นำ มาตรา 154 ซึ่งเป็นบทบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการตรา พ.ร.บ. มิให้ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาบังคับใช้ จึงชัดเจนว่า ศาลรัฐธรรมนูญไม่สามารถรับ คำร้องตรงนี้ได้ หรือ จะขับรถ คร่อมเลนด้วยการใช้มาตรา 154 มาพิจารณากรณีนี้ไม่ได้
และ
ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจใดมายับยั้งกระบวนการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่รัฐบาลเดินมาจนถึงบัดนี้ได้ ตนขอยืนยันว่า ประธานทั้ง 2 คน และสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดได้ทำตามอำนาจหน้าที่ ไม่มีใครทำผิดอะไร
ขอบคุณข้อมูลจากหนังสือ "วิวาทะ"