ความนำ
เห็นกระทู้
http://ppantip.com/topic/31169837
พาดหัว "โดยเฉพาะ ข้อความ" ว่า (ผู้ใดตั้ง ยกไว้)
----->"มหาสติปัฏฐาน 4 นั้นมีหลายกรรมฐานในมหาสติปัฏฐาน " (ที่เหลือ ผมตัดทิ้ง ไม่ใช่ประเด็นกระทู้นี้) <-------
เกิดความเห็นดังนี้
(๑) ไม่มี พระพุทธดำรัสใด ตรัสไว้ แล้วพระเถระครั้งปฐมสังคายนา "อมแล้วบ้วน" (สังคีติ + มุขปาฐะ) ว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
มหาสติปัฏฐาน ทั้ง 4 เป็นอย่างไรเล่า? (แล้วตรัสต่อว่า)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
มหาสติปัฏฐาน ทั้ง 4 ได้แก่ ฯลฯ -------> คือพระสูตรตามที่ปรากฎใน "มหาสติปัฏฐานสูตร"
(๒) ดังนั้น "ไม่มี มหาสติปัฏฐาน 4" ------- ในชั้น "พุทธดำรัส"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้------------- หรือมี?
(๓) ใครที่ ใช้คำว่า "มหาสติปัฏฐาน 4"
พระเถระครั้งปฐมสังคายนา หรือ พระอรรถกถาจารย์ หรือ ฯลฯ ?
สรุป
มหาสติปัฏฐานสูตร (เป็นพุทธดำรัส) ไม่ใช่ มหาสติปัฏฐาน 4 (ไม่ใช่พุทธดำรัส)
อ้างหลักฐาน
http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8F%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3
มหาสติปัฏฐานสูตร - วิกิซอร์ซ
th.wikisource.org/wiki/มหาสติปัฏฐานสูตร
3 ม.ค. 2556 - เอวัมเม สุตัง. อันข้าพเจ้า (พระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา กุรูสุ วิหะระติ, กัมมะสะธัมมัง นามะ กุรูนัง.
จบความนำที่ ๑
---------------
อานาปานสติสูตร VS มหาสติปัฏฐานสูตร .... นั้น ผม เสนอว่า
เนื่องกับ "ที่ตรัสว่า"
สติปัฏฐานทั้งสี่ ย่อมบริบูรณ์ เมื่อ อานาปานสติบริบูรณ์ ------------ อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๑๙๘
สติปัฏฐานสี่บริบูรณ์ ย่อมทำโพชฌงค์ให้บริบูรณ์ -------------------- อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๒๐๑
สติปัฏฐานสี่ที่ทำโพชฌงค์ทั้ง ๗ ให้บริบูรณ์ -------------------------- อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๑๘๐
อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว -------------------- อานาปานสติภาวนา หน้า ๔๙๙
ย่อมมีอานิสงส์ใหญ่ ย่อมมีผลใหญ่
ปัญจุปาทานขันธ์ ไม่อาจจะเกิด
เมื่อรู้เท่าทัน เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ------------------------------- ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๓๓๕
^^^
ฯลฯ
ด้วยอาการอย่างนี้แล อัฏฐังคิมรรค อันเป็นอริยะ ของเขานั้น
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ ---------------------------- ตรงตาม พระสูตรใด? เช่น
มหาจัตตารีสักกสูตร + อานาปานสติอานิสงส์ ๗
เมื่อเขาทำอัฏฐังคิมรรค อันเป็นอริยะ ------------------------------
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ใครที่เป็นนักปฎิบัติ ฯลฯ สอบทาน กับ ที่ตรัสนี้ ยัง
ให้เจริญอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ -------------------------------------
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ใครที่เป็นนักปฎิบัติ ฯลฯ สอบทาน กับ ที่ตรัสนี้ ยัง
สติปัฏฐานทั้งหลาย แม้ทั้ง ๔
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
สัมมัปปธานทั้งหลาย แม้ทั้ง ๔
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
อิทธิบาททั้งหลาย แม้ทั้ง ๔
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
อินทรีย์ทั้งหลาย แม้ทั้ง ๕
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
พละทั้งหลาย แม้ทั้ง ๕
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
โพชฌงค์ทั้งหลาย แม้ทั้ง ๗
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
ธรรมทั้งสอง คือสมถะและวิปัสสนา ของเขานั้น
ย่อมเคียงคู่กันไป --------------------------------------------------- ใครที่ชอบ แยก สมถะ ออกจาก วิปัสสนา ค้าน พระพุทธดำรัสนี้ มั๊ย
บุคคลนั้น
ย่อม
กำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ย่อม
ละ (ธรรมที่พึงละ) ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ย่อม
ทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง -------------------------- (จนกว่าจะเกิด ผลคือ สัมมาวิมุตติ มั๊ง ดู สัมมัตตะ ๑๐ ฯ)
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ย่อมทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ก็ ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็นธรรมอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
คำตอบ พึงมีว่า --------------------------------------------------- มีตามพุทธดำรัส ไม่ใช่ ตาม อรรถกถา เล่มที่ 77 ฯลฯ
ปัญจุปาทานขันธ์ทั้งหลาย ------------------------------------- คือธรรมทั้งหลายอันบุคคล
(ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
กล่าวคือ
อุปาทานขันธ์คือรูป
อุปาทานขันธ์คือเวทนา
อุปาทานขันธ์คือสัญญา
อุปาทานขันธ์คือสังขาร
อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
ฯลฯ
จบความที่ ๒
------------------------------
พินิจ ตามที่ตรัสไว้ว่า
(๑)
อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว -------------------- อานาปานสติภาวนา หน้า ๔๙๙
ย่อมมีอานิสงส์ใหญ่ ย่อมมีผลใหญ่ ---------------------------------- พระพุทธภาษิต เอกธัมมวัคค์ อานาปานสติสังยุตตื สังยุตตนิกาย
๑๙/ ๓๙๗/๑๓๑๔
กับ
(๒)
ปัญจุปาทานขันธ์ ไม่อาจจะเกิด
เมื่อรู้เท่าทัน เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ------------------------------- ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๓๓๕
เมื่อ ตั้งต้นที่ "ปริยัติ" -----> ดุจแผนที่ ใช้เดินทาง บรรลุ เป้าหมายข้างบน (๑) กับ (๒)
อานาปานสติสูตร (๑๙/ ๓๙๗/๑๓๑๔) VS มหาสติปัฏฐานสูตร (มหาสติปัฏฐานสูตร - วิกิซอร์ซ)
ประเด็น สนทนา
แผนที่ฉบับใด "น่านำมาใช้กว่ากัน เพราะ ไม่มากมายฯ" แล้ว สอดคล้องกับ ที่ตรัสว่า "เป็นอยู่โดยชอบ โลกจักไม่ว่างจากพระอริยเจ้า" (จากความจำ)
อานาปานสติสูตร VS มหาสติปัฏฐานสูตร ....
เห็นกระทู้ http://ppantip.com/topic/31169837
พาดหัว "โดยเฉพาะ ข้อความ" ว่า (ผู้ใดตั้ง ยกไว้)
เกิดความเห็นดังนี้
(๑) ไม่มี พระพุทธดำรัสใด ตรัสไว้ แล้วพระเถระครั้งปฐมสังคายนา "อมแล้วบ้วน" (สังคีติ + มุขปาฐะ) ว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มหาสติปัฏฐาน ทั้ง 4 เป็นอย่างไรเล่า? (แล้วตรัสต่อว่า)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มหาสติปัฏฐาน ทั้ง 4 ได้แก่ ฯลฯ -------> คือพระสูตรตามที่ปรากฎใน "มหาสติปัฏฐานสูตร"
(๒) ดังนั้น "ไม่มี มหาสติปัฏฐาน 4" ------- ในชั้น "พุทธดำรัส" [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
(๓) ใครที่ ใช้คำว่า "มหาสติปัฏฐาน 4"
พระเถระครั้งปฐมสังคายนา หรือ พระอรรถกถาจารย์ หรือ ฯลฯ ?
สรุป
มหาสติปัฏฐานสูตร (เป็นพุทธดำรัส) ไม่ใช่ มหาสติปัฏฐาน 4 (ไม่ใช่พุทธดำรัส)
อ้างหลักฐาน
http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8F%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3
มหาสติปัฏฐานสูตร - วิกิซอร์ซ
th.wikisource.org/wiki/มหาสติปัฏฐานสูตร
3 ม.ค. 2556 - เอวัมเม สุตัง. อันข้าพเจ้า (พระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา กุรูสุ วิหะระติ, กัมมะสะธัมมัง นามะ กุรูนัง.
จบความนำที่ ๑
---------------
เนื่องกับ "ที่ตรัสว่า"
สติปัฏฐานทั้งสี่ ย่อมบริบูรณ์ เมื่อ อานาปานสติบริบูรณ์ ------------ อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๑๙๘
สติปัฏฐานสี่บริบูรณ์ ย่อมทำโพชฌงค์ให้บริบูรณ์ -------------------- อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๒๐๑
สติปัฏฐานสี่ที่ทำโพชฌงค์ทั้ง ๗ ให้บริบูรณ์ -------------------------- อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๑๘๐
อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว -------------------- อานาปานสติภาวนา หน้า ๔๙๙
ย่อมมีอานิสงส์ใหญ่ ย่อมมีผลใหญ่
ปัญจุปาทานขันธ์ ไม่อาจจะเกิด
เมื่อรู้เท่าทัน เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ------------------------------- ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๓๓๕
^^^
ฯลฯ
ด้วยอาการอย่างนี้แล อัฏฐังคิมรรค อันเป็นอริยะ ของเขานั้น
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ ---------------------------- ตรงตาม พระสูตรใด? เช่น
มหาจัตตารีสักกสูตร + อานาปานสติอานิสงส์ ๗
เมื่อเขาทำอัฏฐังคิมรรค อันเป็นอริยะ ------------------------------ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ให้เจริญอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ ------------------------------------- [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สติปัฏฐานทั้งหลาย แม้ทั้ง ๔
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
สัมมัปปธานทั้งหลาย แม้ทั้ง ๔
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
อิทธิบาททั้งหลาย แม้ทั้ง ๔
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
อินทรีย์ทั้งหลาย แม้ทั้ง ๕
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
พละทั้งหลาย แม้ทั้ง ๕
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
โพชฌงค์ทั้งหลาย แม้ทั้ง ๗
ย่อมถึงซึ่งความเต็มรอบแห่งความเจริญ --------------------------- ขั้น ? ตรงตาม พระสูตรใด?
ธรรมทั้งสอง คือสมถะและวิปัสสนา ของเขานั้น
ย่อมเคียงคู่กันไป --------------------------------------------------- ใครที่ชอบ แยก สมถะ ออกจาก วิปัสสนา ค้าน พระพุทธดำรัสนี้ มั๊ย
บุคคลนั้น
ย่อม กำหนดรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ย่อมละ (ธรรมที่พึงละ) ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ย่อมทำให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง -------------------------- (จนกว่าจะเกิด ผลคือ สัมมาวิมุตติ มั๊ง ดู สัมมัตตะ ๑๐ ฯ)
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ย่อมทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่ง
ซึ่งธรรมทั้งหลายอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ก็ ธรรมเหล่าไหนเล่า เป็นธรรมอันบุคคล (ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
คำตอบ พึงมีว่า --------------------------------------------------- มีตามพุทธดำรัส ไม่ใช่ ตาม อรรถกถา เล่มที่ 77 ฯลฯ
ปัญจุปาทานขันธ์ทั้งหลาย ------------------------------------- คือธรรมทั้งหลายอันบุคคล
(ผู้สาวกในกรณีนี้ ตรงนี้ผมเพิ่มเอง) พึงกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง
กล่าวคือ
อุปาทานขันธ์คือรูป
อุปาทานขันธ์คือเวทนา
อุปาทานขันธ์คือสัญญา
อุปาทานขันธ์คือสังขาร
อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ
ฯลฯ
จบความที่ ๒
------------------------------
พินิจ ตามที่ตรัสไว้ว่า
(๑)
อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว -------------------- อานาปานสติภาวนา หน้า ๔๙๙
ย่อมมีอานิสงส์ใหญ่ ย่อมมีผลใหญ่ ---------------------------------- พระพุทธภาษิต เอกธัมมวัคค์ อานาปานสติสังยุตตื สังยุตตนิกาย
๑๙/ ๓๙๗/๑๓๑๔
กับ
(๒)
ปัญจุปาทานขันธ์ ไม่อาจจะเกิด
เมื่อรู้เท่าทัน เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ------------------------------- ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ หน้า ๓๓๕
เมื่อ ตั้งต้นที่ "ปริยัติ" -----> ดุจแผนที่ ใช้เดินทาง บรรลุ เป้าหมายข้างบน (๑) กับ (๒)
อานาปานสติสูตร (๑๙/ ๓๙๗/๑๓๑๔) VS มหาสติปัฏฐานสูตร (มหาสติปัฏฐานสูตร - วิกิซอร์ซ)
ประเด็น สนทนา
แผนที่ฉบับใด "น่านำมาใช้กว่ากัน เพราะ ไม่มากมายฯ" แล้ว สอดคล้องกับ ที่ตรัสว่า "เป็นอยู่โดยชอบ โลกจักไม่ว่างจากพระอริยเจ้า" (จากความจำ)