ผมไม่เข้าใจว่าทำไมทุกคนไม่มีสิทธิปฏิบัติอานาปานสติกรรมฐาน ตามที่พี่เหลิมกล่าว ?
ความคิดเห็นที่ 5
อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค
ปาราชิกกัณฑ์ ตติยปาราชิกสิกขาบท
http://ppantip.com/topic/31092247/comment14
จริงอยู่ กรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมสำเร็จแก่ผู้มีสติ มีความรู้ตัวเท่านั้น แม้ก็จริง, ถึงกระนั้น กรรมฐานอย่างอื่นนอกจากอานาปานัสสติกรรมฐานนี้ ย่อมปรากฏได้แก่ผู้ที่มนสิการอยู่. แต่อานาปานัสสติกรรมฐานนี้เป็นภาระหนัก เจริญสำเร็จได้ยาก ทั้งเป็นภูมิแห่งมนสิการของมหาบุรุษทั้งหลาย คือ
พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพุทธบุตรเท่านั้น ไม่ใช่เป็นกรรมฐานต่ำต้อย, ทั้งมิได้เป็นกรรมฐานที่สัตว์ผู้ต่ำต้อยซ่องเสพ, เป็นกรรมฐานสงบและละเอียด โดยประการที่มหาบุรุษทั้งหลายย่อมทำไว้ในใจ. เพราะฉะนั้น ในอานาปานัสสติกรรมฐานนี้จำต้องปรารถนาสติและปัญญาอันมีกำลัง.
http://larndham.org/index.php?/topic/34753-%e0%b8%94%e0%b8%b3%e0%b8%a3%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b9%80%e0%b8%89%e0%b8%9e%e0%b8%b2%e0%b8%b0%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b2-%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%a5%e0%b8%a1%e0%b8%ab%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b9%83%e0%b8%88-%e0%b9%84/page__view__findpost__p__601563
อรรถกถา ทีฆนิกาย มหาวรรค
มหาสติปัฏฐานสูตร
เสนาสนะที่เหมาะแก่การเจริญอานาปานสติ
อีกอย่างหนึ่ง เพราะพระโยคาวจรไม่ละ ละแวกบ้านอันอื้ออึ้งด้วยเสียงหญิงชาย ช้างม้าเป็นต้น จะบำเพ็ญอานาปานสติกัมมัฏฐาน อันเป็นยอดในกายานุปัสสนา เป็นปทัฏฐานแห่งการบรรลุคุณวิเศษ และธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบันของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งปวงนี้ให้สำเร็จ ไม่ใช่ทำได้ง่ายๆ เลย เพราะฌานมีเสียงเป็นข้าศึก
แต่พระโยคาวจรกำหนดกัมมัฏฐานนี้แล้วให้จตุตถฌาน มีอานาปานสติเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ทำฌานนั้นนั่นแลให้เป็นบาท พิจารณาสังขารทั้งหลายแล้วบรรลุพระอรหัต ซึ่งเป็นผลอันยอดจะทำได้ง่าย ก็แต่ในป่าที่ไม่มีบ้าน ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงเสนาสนะอันเหมาะแก่ภิกษุโยคาวจรนั้น จึงตรัสว่า อรญฺญคโต วา ไปป่าก็ดี เป็นต้น.
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าเปรียบเหมือนอาจารย์ผู้รู้ชัยภูมิ. อาจารย์ผู้รู้ชัยภูมิเห็นพื้นที่ควรสร้างนครแล้ว ใคร่ครวญถี่ถ้วนแล้ว ก็ชี้ว่า ท่านทั้งหลายจงสร้างนครตรงนี้ เมื่อเขาสร้างนครเสร็จ โดยสวัสดีแล้ว ย่อมได้รับลาภสักการะอย่างใหญ่จากราชสกุล ฉันใด
-----------------------------------------------------
จากคู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ
อันที่จริงกรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมสำเร็จแก่ผู้มีสติสัมปชัญญะเหมือนกันก็จริง ถึงอย่างนั้นเมื่อพระโยคาวจรมนสิการอยู่ กรรมฐานอื่นนอกจากอานาปานสตินี้ยิ่งมนสิการก็ยิ่งปรากฏชัด แต่อานาปานสติกรรมฐานนี้เป็นของหนัก (ครุกํ ครุภาวนํ – ม.อุ. ๑๔/๑๙๖) การเจริญก็หนัก เป็นภูมิมนสิการแห่งพระพุทธเจ้า พระปัจจกพุทธ พุทธบุตร และผู้เป็นมหาบุรุษเท่านั้น มิใช่กรรมฐานเล็กน้อย และมิใช่สัตว์เล็กน้อย (ผู้มีปัญญาน้อย) จะซ่องเสพได้ คือว่าย่อมมนสิการไปโดยประการใด ๆ ย่อมเป็นกรรมฐานสงบ และสุขุมยิ่งขึ้น ด้วยประการนั้น ๆ เพราะฉะนั้นในกรรมฐานนี้จำเป็นต้องใช้สติ และปัญญาที่มีกำลังมาก
***********************************
ลมดับ จิตดับ ขันธ์จะดับด้วยหรือไม่
ถ้าสมมุติว่าลมหายใจเข้าออกเป็นลมปราณเสมอกัน เป็นสภาวะที่จิตเกาะลมเป็นเอกอยู่อย่างนั้น หรือจิตไม่ต้องเกาะอะไรอีก เมื่อมีอะไรมากระทบ (ผัสสะ) สังขาร (การปรุงแต่ง) ไม่ทำงาน ขันธ์ทั้ง ๕ ก็เกิดไม่ได้ ท่านว่าจะเกิดอะไรขึ้น และเราจะเรียกสภาวะนี้ว่าอะไร? (ท่านตรัสรู้ด้วยอาณาปานสติ) จิตของผู้ใดอันโลกธรรมถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว
ที่เห็นว่า ลมดับนั้น เพราะปัญญาน้อย ครับ
ขันธ์นั้น มีอยู่แล้วครับ
เลือกคำตอบนี้ ตอบกลับ
0 0
สมาชิกหมายเลข 3402001
14 มิถุนายน 2560 เวลา 05:33 น.
ผมไม่เข้าใจว่าทำไมทุกคนไม่มีสิทธิปฏิบัติอานาปานสติกรรมฐาน ตามที่พี่เหลิมกล่าว ?
ความคิดเห็นที่ 5
อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค
ปาราชิกกัณฑ์ ตติยปาราชิกสิกขาบท
http://ppantip.com/topic/31092247/comment14
จริงอยู่ กรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมสำเร็จแก่ผู้มีสติ มีความรู้ตัวเท่านั้น แม้ก็จริง, ถึงกระนั้น กรรมฐานอย่างอื่นนอกจากอานาปานัสสติกรรมฐานนี้ ย่อมปรากฏได้แก่ผู้ที่มนสิการอยู่. แต่อานาปานัสสติกรรมฐานนี้เป็นภาระหนัก เจริญสำเร็จได้ยาก ทั้งเป็นภูมิแห่งมนสิการของมหาบุรุษทั้งหลาย คือพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพุทธบุตรเท่านั้น ไม่ใช่เป็นกรรมฐานต่ำต้อย, ทั้งมิได้เป็นกรรมฐานที่สัตว์ผู้ต่ำต้อยซ่องเสพ, เป็นกรรมฐานสงบและละเอียด โดยประการที่มหาบุรุษทั้งหลายย่อมทำไว้ในใจ. เพราะฉะนั้น ในอานาปานัสสติกรรมฐานนี้จำต้องปรารถนาสติและปัญญาอันมีกำลัง.
http://larndham.org/index.php?/topic/34753-%e0%b8%94%e0%b8%b3%e0%b8%a3%e0%b8%87%e0%b8%aa%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b9%80%e0%b8%89%e0%b8%9e%e0%b8%b2%e0%b8%b0%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b2-%e0%b8%a3%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%a5%e0%b8%a1%e0%b8%ab%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b9%83%e0%b8%88-%e0%b9%84/page__view__findpost__p__601563
อรรถกถา ทีฆนิกาย มหาวรรค
มหาสติปัฏฐานสูตร
เสนาสนะที่เหมาะแก่การเจริญอานาปานสติ
อีกอย่างหนึ่ง เพราะพระโยคาวจรไม่ละ ละแวกบ้านอันอื้ออึ้งด้วยเสียงหญิงชาย ช้างม้าเป็นต้น จะบำเพ็ญอานาปานสติกัมมัฏฐาน อันเป็นยอดในกายานุปัสสนา เป็นปทัฏฐานแห่งการบรรลุคุณวิเศษ และธรรมเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบันของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งปวงนี้ให้สำเร็จ ไม่ใช่ทำได้ง่ายๆ เลย เพราะฌานมีเสียงเป็นข้าศึก
แต่พระโยคาวจรกำหนดกัมมัฏฐานนี้แล้วให้จตุตถฌาน มีอานาปานสติเป็นอารมณ์เกิดขึ้น ทำฌานนั้นนั่นแลให้เป็นบาท พิจารณาสังขารทั้งหลายแล้วบรรลุพระอรหัต ซึ่งเป็นผลอันยอดจะทำได้ง่าย ก็แต่ในป่าที่ไม่มีบ้าน ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงเสนาสนะอันเหมาะแก่ภิกษุโยคาวจรนั้น จึงตรัสว่า อรญฺญคโต วา ไปป่าก็ดี เป็นต้น.
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าเปรียบเหมือนอาจารย์ผู้รู้ชัยภูมิ. อาจารย์ผู้รู้ชัยภูมิเห็นพื้นที่ควรสร้างนครแล้ว ใคร่ครวญถี่ถ้วนแล้ว ก็ชี้ว่า ท่านทั้งหลายจงสร้างนครตรงนี้ เมื่อเขาสร้างนครเสร็จ โดยสวัสดีแล้ว ย่อมได้รับลาภสักการะอย่างใหญ่จากราชสกุล ฉันใด
-----------------------------------------------------
จากคู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ
อันที่จริงกรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมสำเร็จแก่ผู้มีสติสัมปชัญญะเหมือนกันก็จริง ถึงอย่างนั้นเมื่อพระโยคาวจรมนสิการอยู่ กรรมฐานอื่นนอกจากอานาปานสตินี้ยิ่งมนสิการก็ยิ่งปรากฏชัด แต่อานาปานสติกรรมฐานนี้เป็นของหนัก (ครุกํ ครุภาวนํ – ม.อุ. ๑๔/๑๙๖) การเจริญก็หนัก เป็นภูมิมนสิการแห่งพระพุทธเจ้า พระปัจจกพุทธ พุทธบุตร และผู้เป็นมหาบุรุษเท่านั้น มิใช่กรรมฐานเล็กน้อย และมิใช่สัตว์เล็กน้อย (ผู้มีปัญญาน้อย) จะซ่องเสพได้ คือว่าย่อมมนสิการไปโดยประการใด ๆ ย่อมเป็นกรรมฐานสงบ และสุขุมยิ่งขึ้น ด้วยประการนั้น ๆ เพราะฉะนั้นในกรรมฐานนี้จำเป็นต้องใช้สติ และปัญญาที่มีกำลังมาก
***********************************
ลมดับ จิตดับ ขันธ์จะดับด้วยหรือไม่
ถ้าสมมุติว่าลมหายใจเข้าออกเป็นลมปราณเสมอกัน เป็นสภาวะที่จิตเกาะลมเป็นเอกอยู่อย่างนั้น หรือจิตไม่ต้องเกาะอะไรอีก เมื่อมีอะไรมากระทบ (ผัสสะ) สังขาร (การปรุงแต่ง) ไม่ทำงาน ขันธ์ทั้ง ๕ ก็เกิดไม่ได้ ท่านว่าจะเกิดอะไรขึ้น และเราจะเรียกสภาวะนี้ว่าอะไร? (ท่านตรัสรู้ด้วยอาณาปานสติ) จิตของผู้ใดอันโลกธรรมถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว
ที่เห็นว่า ลมดับนั้น เพราะปัญญาน้อย ครับ
ขันธ์นั้น มีอยู่แล้วครับ
เลือกคำตอบนี้ ตอบกลับ
0 0
สมาชิกหมายเลข 3402001
14 มิถุนายน 2560 เวลา 05:33 น.