การที่ กรรมาธิการเสียงข้างมาก แก้ต่างว่า พรบ. นิรโทษกรรม ต้องเป็นไปตาม มาตรา 30 ดังนั้น
ต้องนิรโทษกรรม ทุกคน (ไม่ขอกล่าวถึงการไม่นิรโทษกรรม ตามมาตรา 112 เพราะ ไม่จบแน่)
กรรมมาธิการ ลืมมองลักษณะความผิด ที่แตกต่างกัน ความผิดของการชุมนุม มันแตกต่างจาก ความ
ผิดของการปราบปรามฝูงชนจนมีผู้ล้มตาย บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก
การเหมาเข่งโดยอ้างว่า ถ้านิรโทษผู้ชุมนุม ต้องนิรโทษตัวการนั้น จริงอยู่ มันเป็นการมองสิทธิของ
คนทุกคนให้เท่าเทียมกัน แต่ ไม่ได้มองว่า ลักษณะความผิดของแต่ละคนที่มันต่างกัน
กรรมาธิการต้องมองลักษณะความผิด โดยแบ่งกลุ่มความผิด และ เลือกที่จะหยิบลักษณะความผิด
ของแต่ละอย่างมาพิจารณาการกำหนดนิรโทษของแต่ละลักษณะความผิด
การที่มองคนกระทำความผิดที่ผิดไม่เท่ากัน โดยให้ได้รับอานิสงค์เท่าเทียมกัน มันคือการมองคน
ทุกคนให้ได้รับสิทธินิรโทษที่ไม่เท่าเทียมกันนั่นเอง
เพราะ พวกท่าน เห็น การฆ่าคน เท่ากับการชุมนุม น่าจะเชื่อได้ว่า เหล่ากรรมาธิการต่างคิดว่า อภิสิทธิ์
กับ สุเทพ เป็นบุพการีของพวกท่านแน่นอน
การอาศัย มาตรา 30 ว่าด้วยความเท่าเทียมกันของมนุษย์ มาใช้กับความไม่เท่าเทียมกันของลักษณะความผิด
ต้องนิรโทษกรรม ทุกคน (ไม่ขอกล่าวถึงการไม่นิรโทษกรรม ตามมาตรา 112 เพราะ ไม่จบแน่)
กรรมมาธิการ ลืมมองลักษณะความผิด ที่แตกต่างกัน ความผิดของการชุมนุม มันแตกต่างจาก ความ
ผิดของการปราบปรามฝูงชนจนมีผู้ล้มตาย บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก
การเหมาเข่งโดยอ้างว่า ถ้านิรโทษผู้ชุมนุม ต้องนิรโทษตัวการนั้น จริงอยู่ มันเป็นการมองสิทธิของ
คนทุกคนให้เท่าเทียมกัน แต่ ไม่ได้มองว่า ลักษณะความผิดของแต่ละคนที่มันต่างกัน
กรรมาธิการต้องมองลักษณะความผิด โดยแบ่งกลุ่มความผิด และ เลือกที่จะหยิบลักษณะความผิด
ของแต่ละอย่างมาพิจารณาการกำหนดนิรโทษของแต่ละลักษณะความผิด
การที่มองคนกระทำความผิดที่ผิดไม่เท่ากัน โดยให้ได้รับอานิสงค์เท่าเทียมกัน มันคือการมองคน
ทุกคนให้ได้รับสิทธินิรโทษที่ไม่เท่าเทียมกันนั่นเอง
เพราะ พวกท่าน เห็น การฆ่าคน เท่ากับการชุมนุม น่าจะเชื่อได้ว่า เหล่ากรรมาธิการต่างคิดว่า อภิสิทธิ์
กับ สุเทพ เป็นบุพการีของพวกท่านแน่นอน