ผมให้ความเห็น เรื่องการเรียนวิชานาฏศิลป์ ที่ ตามหลักสูตร ที่ทำขึ้นมาใหม่
เอาไปเป็นหน่วยการเรียน ใน หลักสูตร สังคม และ วัฒนธรรม
ที่ต้องออกมา ให้ความเห็น เพราะ ศธ ได้ เปลี่ยนหลักสูตร การศึกษา มาหลายครั้ง
เช่น 4 - 6 -2 ในสมัยผม บอกว่า ล้าสมัย ใช้มาหลายสิบปี เป็น 7 - 6 แล้วก็มาเป็น
6 - 3 - 3 ในสมัยนี้
ตำราเรียน ก็เปลี่ยนแปลง ไปจน บางครั้งผู้สอน ยังไม่ได้เรียนรู้ ในหลักสูตร ก็ต้องทำการสอน
มา สอง สาม ปี ที่ผ่านมา จากการทดสอบ นักเรียน ชั้น ม. 6 ม. 3 หรือ ป. 6 เด็ก ตกในวิชา
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ รวมทั้ง วิชา ภาษาไทย ก็ตกกับเขาด้วย นักวิชาการ มองไปที่หลักสูตร
มากกว่า เรื่องราวของครู เรื่องราวของตำราเรียน การจัดการเรียนในโรงเรียน ที่มี สถานะต่างกัน
ลองไปถามเด็ก ที่ทดสอบ ว่าเป็นอย่างไร กับการเรียนการสอน
ศธ ใช้วิธี การปรับ หลักสูตร โดยไม่ได้ สำรวจ ว่า ปัจจุบัน ครูผู้สอน สอนกันอย่างไร มีความรู้แค่ไหน
โดยเฉพาะความเป็นจริง จากการที่ นักเรียน ต้องไปเรียน พิเศษ กันเป็นจำนวนมาก
ศธ ไม่นำมาพิจารณาเลย
ต้องยอมรับว่า มาตราฐานการสอน ของครูแต่ละคน ไม่เหมือนกัน นักเรียนโชคดี ที่ได้ครู ที่เอาใจใส่
ในการเรียน การสอน นักเรียน ก็สบายใจ แต่ถ้าไปเจอ ครู ที่ ไม่ใส่ใจ ผู้ปกครอง ก็ต้องแสวงหา ครู
ที่ มีการสอนที่ดี มีความรู้ มาสอน ลูก ๆของเขา
แต่เท่าที่พบ การเรียนพิเศษ จะเน้น ที่ต้อง ไปสอบ เอนทรานซ์ หรือ สอบ เข้าโรงเรียนดี ๆเท่านั้น
เน้นการสอน ที่เป็นข้อสอบ แต่ นักเรียน จะไม่ ได้มีความรู้กว้างขวาง ในการ ที่จะใช้ชีวิต
นักวิชาการ หรือ กระทรวง มองจุดนี้หรือเปล่า
ทีนี้ มามองการ จะรวมเอาวิชาที่ฮือฮา กัน ไปรวมเป็นหน่วยย่อย ของ หลักสูตร เขา ทำอย่างไร
ผม เห็นเขาทำแบบนี้ กับวิชา อื่น ๆในการสอน มาแล้ว เช่น ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
วรรณคดี ศีลธรรม เป็นต้น เขารวม วิชาพวกนี้ เป็น หน่วยใหญ่ แล้ว แบ่ง วิชา ที่ว่าเป็นหน่วยย่อย
ในหน่วยใหญ่ ทำให้ความสำคัญ ของวิชา เหล่านั้นลดน้อยลงไป เพราะมันแค่ เป็นหน่วย ที่มีใน
หน่วยใหญ่ เท่านั้น
การทำ เช่นนี้ กับวิชา ที่บางท่านถึงกับ ออกมาบอกว่า กำพืดเดิม ของ เด็กไทยไม่ได้เรียนรู้ เพราะหลักสูตรไม่ได้ให้ความสำคัญ
อย่าให้เอ่ยชื่อ ท่านเลยเพราะจะเป็นการ อ้างที่ไม่เหมาะสม ลองไปถามนักเรียนสมัยนี้ดูว่า เขารู้จัก
สมเด็จพระเจ้าตากสิน ไหม รู้จัก พระศรีสุริโยทัยไหม หรือในวิชา ภูมิศาสตร์ เขารู้ไหมว่าพื้นที่ป่าไม้
ในประเทศ มีกี่ไร่ หรือแม้แต่ สามจังหวัดภาคไต้ ที่กำลัง มีเหตุการณ์ เขา รู้ขนาดไหน ในความเป็นมา
ของจังหวัดเหล่านั้น เรื่องประชาธิปไตย เขามีความรู้แค่ไหน เขาเงยหน้า จากมือถือของเขา แล้วเห็นอะไรบ้าง
ผมขออ้าง ต่างประเทศ หน่อย ในญี่ปุ่น ตอนปิดเรียนฤดูร้อน เขาจะนำ เด็ก เยาวชน ออกไปเที่ยว ตาม
ต่างจังหวัด ให้เรียนรู้ ภูมิประเทศ ของเขาหลายแห่ง เด็กถือธงนำหน้า ไปศึกษา ภูมิศาสตร์ ของเขา
โดยครู เป็นคนแนะนำ
หรือในสหรัฐ ที่บอกเป็น ประชาธิปไตยจ๋า มีคนรักเสรีภาพ ทั้งประเทศ แต่เชื่อไหม เขา บรรจุหลักสูตร
การเรียนเรื่องประชาธิปไตย ให้กับ เด็กชั้น จูเนียร์ เพิ่มเข้าไปอีกเพือให้เข้าใจมากขึ้น
แล้วของเรา แม้แต่วิชาประชาธิปไตย ที่ควรบรรจุเข้ามา ยังไม่ได้รับการ พิจารณา ตั้งแต่ 40 ปีที่แล้ว
ที่เกิดเรื่อง
วิชานาฏศิลป์ ไม่ได้สามารถเอาไป ทำมาหากินได้ ไม่เหมือน วิชา คอมพ์ วิชาเทคโนโลยี่ แต่ เป็น
สี่งที่ เป็นวัฒนธรรม คู่บ้านคู่เมือง มีมา 7 95 ปี ตั้งแต่ตั้งกรุงสุโขทัย ทำให้นักเรียนไม่ลืมกำพืดเดิม
ของเรา การเรียน วิชานี้ เป็นวิชาเลือกเพื่อทำมาหากิน ไม่มีใครเลือกหรอกครับ เพราะ ไปทำกินไม่ได้
แต่มันเป็นวัฒนธรรม หลายคนบอก จะให้ไป จีมนี้ว จับมือกัน แบบโบราณ มันล้าสมัย สู้กังนำสไตล์
ไม่ได้ เพราะไอ้นั่นไม่ต้องฝึก แต่ทำได้เลย มันคนละเรื่องกัน กับวัฒนธรรม มันเหมือนวัฒนธรรมการไหว้
การเคารพผู้ใหญ่ การให้เกียรติ คน มันเป็นวัฒนธรรม การแต่งกาย แบบไทย ๆ เป็นวัฒนธรรม
การทำอาหารที่ประดิษฏ์ประดอย กันเป็นอย่างมาก เป็นวัฒนธรรม นาฏศิลป์ มันก็เป็นวัฒนธรรม
นึกดูว่า ขนาดวิชาสำคัญ ๆเช่นประวัติศาสตร์ ยังด้อยค่าลงไป เมื่อ ทำแค่เป็นหน่วยการเรียน แล้ว นาฏศิลป์
มิหายไปเลยหรือ
เพราะฉนั้น หลักสูตรการเรียน ต่างๆ เราต้องคำนึงถึงวัฒนธรรม ที่เราต้องพัฒนาเด็กของเรา ให้เด้กของเรา
เดิน ก้าวไปอย่างมั่นคง ไม่ตื่นตูไปกับ ที่บอก ทดสอบแล้ว ตกยกชั้น เรียนกันมาก ชั่วโมงเกินไป ต้องมีเวลา
เล่น ให้มาก ๆ เราจะพัฒนาเด็กของเราไปสู่จุดไหน ครับ ผู้บริหารประเทศ
หลักสูตรการศึกษา พัฒนาคน จริงหรือ
เอาไปเป็นหน่วยการเรียน ใน หลักสูตร สังคม และ วัฒนธรรม
ที่ต้องออกมา ให้ความเห็น เพราะ ศธ ได้ เปลี่ยนหลักสูตร การศึกษา มาหลายครั้ง
เช่น 4 - 6 -2 ในสมัยผม บอกว่า ล้าสมัย ใช้มาหลายสิบปี เป็น 7 - 6 แล้วก็มาเป็น
6 - 3 - 3 ในสมัยนี้
ตำราเรียน ก็เปลี่ยนแปลง ไปจน บางครั้งผู้สอน ยังไม่ได้เรียนรู้ ในหลักสูตร ก็ต้องทำการสอน
มา สอง สาม ปี ที่ผ่านมา จากการทดสอบ นักเรียน ชั้น ม. 6 ม. 3 หรือ ป. 6 เด็ก ตกในวิชา
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ รวมทั้ง วิชา ภาษาไทย ก็ตกกับเขาด้วย นักวิชาการ มองไปที่หลักสูตร
มากกว่า เรื่องราวของครู เรื่องราวของตำราเรียน การจัดการเรียนในโรงเรียน ที่มี สถานะต่างกัน
ลองไปถามเด็ก ที่ทดสอบ ว่าเป็นอย่างไร กับการเรียนการสอน
ศธ ใช้วิธี การปรับ หลักสูตร โดยไม่ได้ สำรวจ ว่า ปัจจุบัน ครูผู้สอน สอนกันอย่างไร มีความรู้แค่ไหน
โดยเฉพาะความเป็นจริง จากการที่ นักเรียน ต้องไปเรียน พิเศษ กันเป็นจำนวนมาก
ศธ ไม่นำมาพิจารณาเลย
ต้องยอมรับว่า มาตราฐานการสอน ของครูแต่ละคน ไม่เหมือนกัน นักเรียนโชคดี ที่ได้ครู ที่เอาใจใส่
ในการเรียน การสอน นักเรียน ก็สบายใจ แต่ถ้าไปเจอ ครู ที่ ไม่ใส่ใจ ผู้ปกครอง ก็ต้องแสวงหา ครู
ที่ มีการสอนที่ดี มีความรู้ มาสอน ลูก ๆของเขา
แต่เท่าที่พบ การเรียนพิเศษ จะเน้น ที่ต้อง ไปสอบ เอนทรานซ์ หรือ สอบ เข้าโรงเรียนดี ๆเท่านั้น
เน้นการสอน ที่เป็นข้อสอบ แต่ นักเรียน จะไม่ ได้มีความรู้กว้างขวาง ในการ ที่จะใช้ชีวิต
นักวิชาการ หรือ กระทรวง มองจุดนี้หรือเปล่า
ทีนี้ มามองการ จะรวมเอาวิชาที่ฮือฮา กัน ไปรวมเป็นหน่วยย่อย ของ หลักสูตร เขา ทำอย่างไร
ผม เห็นเขาทำแบบนี้ กับวิชา อื่น ๆในการสอน มาแล้ว เช่น ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
วรรณคดี ศีลธรรม เป็นต้น เขารวม วิชาพวกนี้ เป็น หน่วยใหญ่ แล้ว แบ่ง วิชา ที่ว่าเป็นหน่วยย่อย
ในหน่วยใหญ่ ทำให้ความสำคัญ ของวิชา เหล่านั้นลดน้อยลงไป เพราะมันแค่ เป็นหน่วย ที่มีใน
หน่วยใหญ่ เท่านั้น
การทำ เช่นนี้ กับวิชา ที่บางท่านถึงกับ ออกมาบอกว่า กำพืดเดิม ของ เด็กไทยไม่ได้เรียนรู้ เพราะหลักสูตรไม่ได้ให้ความสำคัญ
อย่าให้เอ่ยชื่อ ท่านเลยเพราะจะเป็นการ อ้างที่ไม่เหมาะสม ลองไปถามนักเรียนสมัยนี้ดูว่า เขารู้จัก
สมเด็จพระเจ้าตากสิน ไหม รู้จัก พระศรีสุริโยทัยไหม หรือในวิชา ภูมิศาสตร์ เขารู้ไหมว่าพื้นที่ป่าไม้
ในประเทศ มีกี่ไร่ หรือแม้แต่ สามจังหวัดภาคไต้ ที่กำลัง มีเหตุการณ์ เขา รู้ขนาดไหน ในความเป็นมา
ของจังหวัดเหล่านั้น เรื่องประชาธิปไตย เขามีความรู้แค่ไหน เขาเงยหน้า จากมือถือของเขา แล้วเห็นอะไรบ้าง
ผมขออ้าง ต่างประเทศ หน่อย ในญี่ปุ่น ตอนปิดเรียนฤดูร้อน เขาจะนำ เด็ก เยาวชน ออกไปเที่ยว ตาม
ต่างจังหวัด ให้เรียนรู้ ภูมิประเทศ ของเขาหลายแห่ง เด็กถือธงนำหน้า ไปศึกษา ภูมิศาสตร์ ของเขา
โดยครู เป็นคนแนะนำ
หรือในสหรัฐ ที่บอกเป็น ประชาธิปไตยจ๋า มีคนรักเสรีภาพ ทั้งประเทศ แต่เชื่อไหม เขา บรรจุหลักสูตร
การเรียนเรื่องประชาธิปไตย ให้กับ เด็กชั้น จูเนียร์ เพิ่มเข้าไปอีกเพือให้เข้าใจมากขึ้น
แล้วของเรา แม้แต่วิชาประชาธิปไตย ที่ควรบรรจุเข้ามา ยังไม่ได้รับการ พิจารณา ตั้งแต่ 40 ปีที่แล้ว
ที่เกิดเรื่อง
วิชานาฏศิลป์ ไม่ได้สามารถเอาไป ทำมาหากินได้ ไม่เหมือน วิชา คอมพ์ วิชาเทคโนโลยี่ แต่ เป็น
สี่งที่ เป็นวัฒนธรรม คู่บ้านคู่เมือง มีมา 7 95 ปี ตั้งแต่ตั้งกรุงสุโขทัย ทำให้นักเรียนไม่ลืมกำพืดเดิม
ของเรา การเรียน วิชานี้ เป็นวิชาเลือกเพื่อทำมาหากิน ไม่มีใครเลือกหรอกครับ เพราะ ไปทำกินไม่ได้
แต่มันเป็นวัฒนธรรม หลายคนบอก จะให้ไป จีมนี้ว จับมือกัน แบบโบราณ มันล้าสมัย สู้กังนำสไตล์
ไม่ได้ เพราะไอ้นั่นไม่ต้องฝึก แต่ทำได้เลย มันคนละเรื่องกัน กับวัฒนธรรม มันเหมือนวัฒนธรรมการไหว้
การเคารพผู้ใหญ่ การให้เกียรติ คน มันเป็นวัฒนธรรม การแต่งกาย แบบไทย ๆ เป็นวัฒนธรรม
การทำอาหารที่ประดิษฏ์ประดอย กันเป็นอย่างมาก เป็นวัฒนธรรม นาฏศิลป์ มันก็เป็นวัฒนธรรม
นึกดูว่า ขนาดวิชาสำคัญ ๆเช่นประวัติศาสตร์ ยังด้อยค่าลงไป เมื่อ ทำแค่เป็นหน่วยการเรียน แล้ว นาฏศิลป์
มิหายไปเลยหรือ
เพราะฉนั้น หลักสูตรการเรียน ต่างๆ เราต้องคำนึงถึงวัฒนธรรม ที่เราต้องพัฒนาเด็กของเรา ให้เด้กของเรา
เดิน ก้าวไปอย่างมั่นคง ไม่ตื่นตูไปกับ ที่บอก ทดสอบแล้ว ตกยกชั้น เรียนกันมาก ชั่วโมงเกินไป ต้องมีเวลา
เล่น ให้มาก ๆ เราจะพัฒนาเด็กของเราไปสู่จุดไหน ครับ ผู้บริหารประเทศ