คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 23
อภิสิทธิ์เป็นคนแต่งตั้งสุเทพให้เป็น ผอ. ศอฉ.
สุเทพสั่งทหาร ทหารยิงคนตาย
ตระกองขวัญ
-------------------------------------
ผู้ใช้ = อภิสิทธิ์,สุเทพ (ร่วมกันตาม ม.83)
ตัวการ = ทหาร (ไม่รู้ว่าเป็นใคร ผิดจริงหรือไม่ และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย)
กฎหมายทั่วโลกครับ ถ้าตัวการไม่มี หรือไม่ผิด ผู้ใช้ ก็ไม่ผิด
แล้วดีเอสไอ ไปตั้งข้อหาอภิสิทธิ์ กับสุเทพ ได้อย่างไร อธิบายหน่อย
สำนวนค้างเติ่งอยู่ที่อัยการ ซึ่งอัยการก็คงประหลักประเหลือก คดีนี้ถ้าปกติก็ต้องสั่งไม่ฟ้อง
แต่นี่มันเกี่ยวกับการเมือง อัยการต้องวัดใจเอาเอง ว่าจะเอาความถูกต้อง หรือถูกใจนักการเมือง
อย่าลืมว่าคดีความ หรือกระบวนการทางกฎหมาย มันจะเป็นเหมือนกับบรรทัดฐานในการพิจารณาต่อไปในอนาคต
หากคดีนี้ขึ้นสู่ศาล ต่อไปนายก หรือผู้บัญชาการทหาร ตำรวจ หรือ หัวหน้าส่วนราชการระดับสูง เตรียมทยอยขึ้นศาลกันได้เลย
ยกตัวอย่าง เช่น...
- ผบ.ตร. เซ็นต์คำสั่งให้ ตำรวจลงไปปราบผู้ก่อการร้ายภาคใต้
- นายตำรวจต่อสู้กับโจรใต้ กระสุนพลาดไปโดนชาวบ้านตาย
- ศาลสั่งว่าชาวบ้านตายเพราะกระสุนจากเจ้าหน้าที่
- หากยึดบรรทัดฐานจากคดีมาร์ค ผบ.ตร. ก็ต้องถูกฟ้องในคดีเช่นเดียวกับมาร์ค
ตลกแล้วละประเทศไทย
~ ศรอรชุน ~
สุเทพสั่งทหาร ทหารยิงคนตาย
ตระกองขวัญ
-------------------------------------
ผู้ใช้ = อภิสิทธิ์,สุเทพ (ร่วมกันตาม ม.83)
ตัวการ = ทหาร (ไม่รู้ว่าเป็นใคร ผิดจริงหรือไม่ และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย)
กฎหมายทั่วโลกครับ ถ้าตัวการไม่มี หรือไม่ผิด ผู้ใช้ ก็ไม่ผิด
แล้วดีเอสไอ ไปตั้งข้อหาอภิสิทธิ์ กับสุเทพ ได้อย่างไร อธิบายหน่อย
สำนวนค้างเติ่งอยู่ที่อัยการ ซึ่งอัยการก็คงประหลักประเหลือก คดีนี้ถ้าปกติก็ต้องสั่งไม่ฟ้อง
แต่นี่มันเกี่ยวกับการเมือง อัยการต้องวัดใจเอาเอง ว่าจะเอาความถูกต้อง หรือถูกใจนักการเมือง
อย่าลืมว่าคดีความ หรือกระบวนการทางกฎหมาย มันจะเป็นเหมือนกับบรรทัดฐานในการพิจารณาต่อไปในอนาคต
หากคดีนี้ขึ้นสู่ศาล ต่อไปนายก หรือผู้บัญชาการทหาร ตำรวจ หรือ หัวหน้าส่วนราชการระดับสูง เตรียมทยอยขึ้นศาลกันได้เลย
ยกตัวอย่าง เช่น...
- ผบ.ตร. เซ็นต์คำสั่งให้ ตำรวจลงไปปราบผู้ก่อการร้ายภาคใต้
- นายตำรวจต่อสู้กับโจรใต้ กระสุนพลาดไปโดนชาวบ้านตาย
- ศาลสั่งว่าชาวบ้านตายเพราะกระสุนจากเจ้าหน้าที่
- หากยึดบรรทัดฐานจากคดีมาร์ค ผบ.ตร. ก็ต้องถูกฟ้องในคดีเช่นเดียวกับมาร์ค
ตลกแล้วละประเทศไทย
~ ศรอรชุน ~
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
ประเด็นก็คือ ศรไม่เข่าใจ ไม่รู้เรื่อง และศรเชื่อคำพูดของแหลมาร์คแหลเทือก
ขออธิบายให้ฟังดังนี้
แหลมาร์คจะพูดจะอ้างเสมอว่า คดี 99 ศพ ต้องไปที่ ปปช. ไม่ใช่ไปที่ศาลอาญาโดยตรง
ซึ่งหากใครไม่รู้เรื่องก็จะเชื่อตามทันที (โดยเฉพาะกองเชียร์ ปขป. ที่ไม่เคยคิด ไม่เคยศึกษาเรื่องราว แค่ฟังก็เฮตาม)
ข้อหาที่ดีเอสไอกล่าวหาแหลมาร์คและแหลเทือกคือ ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
ก่อนอื่น ขอให้ดูคำว่า เล็งเห็นผล ตรงนี้ แน่นอนว่ามันชัดเจน การสั่งให้ทหารใช้กระสุนจริงกลางเมืองหลวง
มีประชาชนชุมนุมนับหมื่น มีประชาชนสัญจรไปมาและอาศัยอยู่ในบริเวณชุมนุมอีกนับไม่ถ้วน
ย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า อาจทำให้ผู้บริสุทธิ์ ผู้ไม่เกี่ยวข้องโดนกระสุนบาดเจ็บล้มตายได้
(ศอฉ. อ้างว่ามีผู้ก่อการร้าย ผู้ชุมนุมซ่องสุมอาวุธ)
เป็นเรื่องที่เล็งเห็นผลชัดเจน
ต่อมา คือคำว่า เจตนา
อันนี้ยิ่งชัด เพราะเมื่อเล็งเห็นผลแล้ว แทนที่จะระงับการใช้กระสุนจริงเมื่อเกิดความผิดพลาดบาดเจ็บล้มตายต่อเนื่อง
กลับไม่ระงับ สั่งให้ดำเนินการต่อเนื่องนานนับเืดือน
จึงเป็นเจตนาให้มีการบาดเจ็บล้มตาย
แม้จะอ้างว่า คำสั่ง ศอฉ. นั้น ระบุว่าให้ยิงอย่างไร คำสั่งไม่ได้ระบุให้ยิงให้ฆ่าก็ตาม
แ่ต่เมื่อเกิดการตาย เกิดความผิดพลาด แต่ยังปล่อยให้ดำเนินการต่อเนื่อง จึงส่อให้เห็นเจตนา
ว่าใช้คนอื่นให้ฆ่าคนตาย
ต่อมาเรื่องคดีอาญา ว่าทำไมดีเอสไอจึงตั้งข้อหาโดยตรง ไม่ส่งเรื่องไปที่ ปปช.
เรื่องนี้ดีเอสไอเขาพิจารณาแล้วเห็นว่า การกระทำของแหลทั้งสอง เป็นการกระทำ "นอกเหนืออำนาจหน้าที่"
หากข้าราชการทำผิดในตำแหน่งหน้าที่ เรื่องจะไป ปปช. (มาตรา 157)
ย้ำ เป็นเรื่องความผิดในตำแหน่งหน้าที่
หากไม่ใช่ ก็ไม่ต้องไปที่ ปปช.
ดีเอสไอตั้งข้อกล่าวหาแหลทั้งสองในเรื่องที่ไม่ใช่อำนาจหน้าที่
เพราะเป็นการเจตนาใช้ผู้อื่นฆ่าคนตาย เป็นการกระทำอันนอกเหนืออำนาจหน้าที
(เหมือนดีเอสไอตั้งข้อหาหม่อมสุขุมพันธ์ในเรื่องการต่อสัญญารถไฟฟ้า กทม.ไม่อำนาจต่อสัญญาแต่ไปต่อสัญญา)
กรณี 99 ศพ จึงต้องแยกเป็นสองกรณี
คือหนึ่ง คดีที่นอกเหนืออำนาจหน้าที่ อย่างที่แหลทั้งสองทำนี่แหละ
คือร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
และสอง คือตอนนี้ เรื่อง 99 ศพไปถึง ปปช.แล้ว ซึ่ง ปปช. จะพิจารณาต่อไปว่าผิดมาตรา 157 ไหม
ขอเกริ่นแค่นี้ก่อน
ศรมีอะไรว่ามาต่อได้เลยครับ
ขออธิบายให้ฟังดังนี้
แหลมาร์คจะพูดจะอ้างเสมอว่า คดี 99 ศพ ต้องไปที่ ปปช. ไม่ใช่ไปที่ศาลอาญาโดยตรง
ซึ่งหากใครไม่รู้เรื่องก็จะเชื่อตามทันที (โดยเฉพาะกองเชียร์ ปขป. ที่ไม่เคยคิด ไม่เคยศึกษาเรื่องราว แค่ฟังก็เฮตาม)
ข้อหาที่ดีเอสไอกล่าวหาแหลมาร์คและแหลเทือกคือ ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
ก่อนอื่น ขอให้ดูคำว่า เล็งเห็นผล ตรงนี้ แน่นอนว่ามันชัดเจน การสั่งให้ทหารใช้กระสุนจริงกลางเมืองหลวง
มีประชาชนชุมนุมนับหมื่น มีประชาชนสัญจรไปมาและอาศัยอยู่ในบริเวณชุมนุมอีกนับไม่ถ้วน
ย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า อาจทำให้ผู้บริสุทธิ์ ผู้ไม่เกี่ยวข้องโดนกระสุนบาดเจ็บล้มตายได้
(ศอฉ. อ้างว่ามีผู้ก่อการร้าย ผู้ชุมนุมซ่องสุมอาวุธ)
เป็นเรื่องที่เล็งเห็นผลชัดเจน
ต่อมา คือคำว่า เจตนา
อันนี้ยิ่งชัด เพราะเมื่อเล็งเห็นผลแล้ว แทนที่จะระงับการใช้กระสุนจริงเมื่อเกิดความผิดพลาดบาดเจ็บล้มตายต่อเนื่อง
กลับไม่ระงับ สั่งให้ดำเนินการต่อเนื่องนานนับเืดือน
จึงเป็นเจตนาให้มีการบาดเจ็บล้มตาย
แม้จะอ้างว่า คำสั่ง ศอฉ. นั้น ระบุว่าให้ยิงอย่างไร คำสั่งไม่ได้ระบุให้ยิงให้ฆ่าก็ตาม
แ่ต่เมื่อเกิดการตาย เกิดความผิดพลาด แต่ยังปล่อยให้ดำเนินการต่อเนื่อง จึงส่อให้เห็นเจตนา
ว่าใช้คนอื่นให้ฆ่าคนตาย
ต่อมาเรื่องคดีอาญา ว่าทำไมดีเอสไอจึงตั้งข้อหาโดยตรง ไม่ส่งเรื่องไปที่ ปปช.
เรื่องนี้ดีเอสไอเขาพิจารณาแล้วเห็นว่า การกระทำของแหลทั้งสอง เป็นการกระทำ "นอกเหนืออำนาจหน้าที่"
หากข้าราชการทำผิดในตำแหน่งหน้าที่ เรื่องจะไป ปปช. (มาตรา 157)
ย้ำ เป็นเรื่องความผิดในตำแหน่งหน้าที่
หากไม่ใช่ ก็ไม่ต้องไปที่ ปปช.
ดีเอสไอตั้งข้อกล่าวหาแหลทั้งสองในเรื่องที่ไม่ใช่อำนาจหน้าที่
เพราะเป็นการเจตนาใช้ผู้อื่นฆ่าคนตาย เป็นการกระทำอันนอกเหนืออำนาจหน้าที
(เหมือนดีเอสไอตั้งข้อหาหม่อมสุขุมพันธ์ในเรื่องการต่อสัญญารถไฟฟ้า กทม.ไม่อำนาจต่อสัญญาแต่ไปต่อสัญญา)
กรณี 99 ศพ จึงต้องแยกเป็นสองกรณี
คือหนึ่ง คดีที่นอกเหนืออำนาจหน้าที่ อย่างที่แหลทั้งสองทำนี่แหละ
คือร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
และสอง คือตอนนี้ เรื่อง 99 ศพไปถึง ปปช.แล้ว ซึ่ง ปปช. จะพิจารณาต่อไปว่าผิดมาตรา 157 ไหม
ขอเกริ่นแค่นี้ก่อน
ศรมีอะไรว่ามาต่อได้เลยครับ
ความคิดเห็นที่ 14
จาก คห.13
การฆ่าผู้อื่น ไม่ใช่ต้องเป็นผู้ลงมือเอง
ในทางกฎหมายนั้น การยุยง การส่งเสริม การใช้ การจ้างวาน ล้วนถือว่าฆ่าผู้อื่น (ผู้ร่วมฆ่า)
กรณีดีเอสไอตั้งข้อหา ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
จึงถูกต้องตามกฎหมายทุกประการ
อย่างที่บอกไว้ใน คห. 12
ศาลสั่งชัดเจนว่าตายเพราะเจ้าหน้าที่ แต่ไม่รู้ว่าเจ้าหน้าที่คนไหน
มีคนตาย ก็ต้องมีคนรับผิดชอบ
และการตายลักษณะนี้ กฎหมายไม่มีบทเว้นโทษและเว้นควาผิด
จึงต้องตั้งข้อกล่าวหากับผู้สั่งการ
การฆ่าผู้อื่น ไม่ใช่ต้องเป็นผู้ลงมือเอง
ในทางกฎหมายนั้น การยุยง การส่งเสริม การใช้ การจ้างวาน ล้วนถือว่าฆ่าผู้อื่น (ผู้ร่วมฆ่า)
กรณีดีเอสไอตั้งข้อหา ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
จึงถูกต้องตามกฎหมายทุกประการ
อย่างที่บอกไว้ใน คห. 12
ศาลสั่งชัดเจนว่าตายเพราะเจ้าหน้าที่ แต่ไม่รู้ว่าเจ้าหน้าที่คนไหน
มีคนตาย ก็ต้องมีคนรับผิดชอบ
และการตายลักษณะนี้ กฎหมายไม่มีบทเว้นโทษและเว้นควาผิด
จึงต้องตั้งข้อกล่าวหากับผู้สั่งการ
ความคิดเห็นที่ 12
จาก คห.11
คำสั่งให้ใช้กระสุนจริงของ ศอฉ. นั้น บอกว่าให้ยิงเพื่อป้องกันตัว ให้ยิงระดับหัวเข่า ฯลฯ
ไม่ได้สั่งว่าให้ยิงใคร ฆ่าใคร
แต่ประเด็นมันคือ มีการผิดพลาดในการปฏิบัติหน้าที่ของทหาร
มีคนตายต่อเนื่อง และคนตายล้วนบริสุทธิ์ ไม่มีอาวุธ
แต่คนสั่งการกลับไม่ระงับ ปล่อยให้ปฏิบัติการต่อเนื่อง มันจึงส่อให้เห็นเจตนา
ประเด็นต้องดูว่า ข้อหาที่สองแหลโดนนี่ เพราะทำให้คนบริสุทธิ์ตาย ไม่ใช่คนมีอาวุธตาย
การชุมนุมจะผิดกฎหมาย การชุมนุมจะสงบ การชุมนุมจะมีอาวุธหรือไม่ มันคนละประเด็นกับข้อกล่าวหา
คนบริสุทธิ์ตายเพราะเจ้าหน้าที่ (ตามที่ศาลสั่งขณะนี้สิบกว่าศพ) ชัดเจน
เมื่อมีคนตายก็ต้องมีผู้รับผิดชอบ
เมื่อไม่รู้ว่าตายเพราะเจ้าหน้าที่คนไหน คนสั่งการก็ต้องรับผิดชอบ
ข้อกล่าวหาที่ดีเอสไอตั้งแก่แหลสองคนจึงชอบและถูกต้องตามกฎหมายแล้ว
คำสั่งให้ใช้กระสุนจริงของ ศอฉ. นั้น บอกว่าให้ยิงเพื่อป้องกันตัว ให้ยิงระดับหัวเข่า ฯลฯ
ไม่ได้สั่งว่าให้ยิงใคร ฆ่าใคร
แต่ประเด็นมันคือ มีการผิดพลาดในการปฏิบัติหน้าที่ของทหาร
มีคนตายต่อเนื่อง และคนตายล้วนบริสุทธิ์ ไม่มีอาวุธ
แต่คนสั่งการกลับไม่ระงับ ปล่อยให้ปฏิบัติการต่อเนื่อง มันจึงส่อให้เห็นเจตนา
ประเด็นต้องดูว่า ข้อหาที่สองแหลโดนนี่ เพราะทำให้คนบริสุทธิ์ตาย ไม่ใช่คนมีอาวุธตาย
การชุมนุมจะผิดกฎหมาย การชุมนุมจะสงบ การชุมนุมจะมีอาวุธหรือไม่ มันคนละประเด็นกับข้อกล่าวหา
คนบริสุทธิ์ตายเพราะเจ้าหน้าที่ (ตามที่ศาลสั่งขณะนี้สิบกว่าศพ) ชัดเจน
เมื่อมีคนตายก็ต้องมีผู้รับผิดชอบ
เมื่อไม่รู้ว่าตายเพราะเจ้าหน้าที่คนไหน คนสั่งการก็ต้องรับผิดชอบ
ข้อกล่าวหาที่ดีเอสไอตั้งแก่แหลสองคนจึงชอบและถูกต้องตามกฎหมายแล้ว
ความคิดเห็นที่ 3
การชุมนุมของเสื้อแดง เมื่อปี 53 เป็นการชุมนุมที่ผิดกฎหมาย
ศอ.รส.ส่ง"ธาริต"แจงคำสั่งศาลแพ่งยกคำร้อง ระบุศาลย้ำการชุมนุมแดงผิดกม. ให้อำนาจ กอ.รมน.จัดการเต็มที่
อัยการสูงสุดชี้ให้เห็นถึงประเด็นการวินิจฉัย 6 ประเด็น คือ
1.ศาลพิเคราะห์จากเฉพาะไม่ใช่คำร้องของสำนักนายกรัฐมนตรี แต่มีผู้ร้องคัดค้านด้วย ดังนั้น คำวินิจฉัยที่เกิดขึ้นนั้นมีคำโต้แย้งแล้วจากผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์
2.การไต่สวนของศาลนั้นได้กลั่นกรองแล้ว จึงสรุปว่าการกระทำของแกนนำ นปช. 5 คน เป็นการกีดขวางการจราจรของคนทั่วไป เป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนส่งผลกระทบต่อความเสียหายธุรกิจ และกระทบกับความมั่นคง
3.การชุมนุมเป็นการชุมนุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 34 และมาตรา 63 จึงเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงเป็นการยืนยันว่าไม่ได้ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ
4.กอ.รมน.มีอำนาจทั้งหลายทั้งปวง เพื่อป้องกัน แก้ไข เหตุการณ์อันเป็นภัยจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการให้เกิดความไม่สงบเพื่อให้กลับสู่ภาวะปกติ
5.เมื่อมีข้อกำหนดและประกาศต่างๆ แล้ว ข้อกำหนดและประกาศดังกล่าวย่อมมีผลบังคับใช้ได้ทันที
6.กอ.รมน.มีอำนาจที่จะดำเนินการทั้งหลายทั้งปวงตามที่เห็นสมควรและความจำเป็นเพื่อให้มีการปฏิบัติตามข้อกำหนดและประกาศ"
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1270481770&catid=17
~ ศรอรชุน ~
ศอ.รส.ส่ง"ธาริต"แจงคำสั่งศาลแพ่งยกคำร้อง ระบุศาลย้ำการชุมนุมแดงผิดกม. ให้อำนาจ กอ.รมน.จัดการเต็มที่
อัยการสูงสุดชี้ให้เห็นถึงประเด็นการวินิจฉัย 6 ประเด็น คือ
1.ศาลพิเคราะห์จากเฉพาะไม่ใช่คำร้องของสำนักนายกรัฐมนตรี แต่มีผู้ร้องคัดค้านด้วย ดังนั้น คำวินิจฉัยที่เกิดขึ้นนั้นมีคำโต้แย้งแล้วจากผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์
2.การไต่สวนของศาลนั้นได้กลั่นกรองแล้ว จึงสรุปว่าการกระทำของแกนนำ นปช. 5 คน เป็นการกีดขวางการจราจรของคนทั่วไป เป็นการจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนส่งผลกระทบต่อความเสียหายธุรกิจ และกระทบกับความมั่นคง
3.การชุมนุมเป็นการชุมนุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 34 และมาตรา 63 จึงเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงเป็นการยืนยันว่าไม่ได้ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ
4.กอ.รมน.มีอำนาจทั้งหลายทั้งปวง เพื่อป้องกัน แก้ไข เหตุการณ์อันเป็นภัยจากบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ดำเนินการให้เกิดความไม่สงบเพื่อให้กลับสู่ภาวะปกติ
5.เมื่อมีข้อกำหนดและประกาศต่างๆ แล้ว ข้อกำหนดและประกาศดังกล่าวย่อมมีผลบังคับใช้ได้ทันที
6.กอ.รมน.มีอำนาจที่จะดำเนินการทั้งหลายทั้งปวงตามที่เห็นสมควรและความจำเป็นเพื่อให้มีการปฏิบัติตามข้อกำหนดและประกาศ"
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1270481770&catid=17
~ ศรอรชุน ~
ความคิดเห็นที่ 5
มันเป็นเรื่องเกี่ยวพันกัน เอาเป็นว่า คุณตระกองขวัญยอมรับคำสั่งศาลนี้
ที่ศาลมีว่าเป็นการชุมนุมที่ผิดกฎหมายนะครับ
----------------------------------------------------------------------------------------------
ไม่อยากให้พูดลอยๆแบบคิดไปเอง เอากฎหมายมาวางไว้ด้วย...
มาตรา 59 บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำ โดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทำโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้อง รับผิดเมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดย แจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา
กระทำโดยเจตนา ได้แก่กระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและใน ขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น
ถ้าผู้กระทำมิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด จะถือว่า ผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นมิได้
กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำ โดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและ พฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้ เพียงพอไม่
การกระทำ ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดย งดเว้นการที่จักต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย
มาตรา 80 ผู้ใดลงมือกระทำความผิดแต่กระทำไปไม่ตลอด หรือ กระทำไปตลอดแล้วแต่การกระทำนั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระทำความผิด
ผู้ใดพยายามกระทำความผิด ผู้นั้นต้องระวางโทษสองในสามส่วน ของโทษที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 83 ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระทำของบุคคลตั้งแต่ สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทำความผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวการ ต้องระวางโทษ ตามที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 84 ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระทำความผิดไม่ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้กระทำ ความผิด
ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทำความผิดนั้น ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ถ้าความผิดมิได้กระทำลง ไม่ว่าจะเป็นเพราะผู้ถูกใช้ไม่ยอมกระทำ ยังไม่ได้ กระทำหรือเหตุอื่นใด ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษที่กำหนดไว้ สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 288 ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุก ตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี
~ ศรอรชุน ~
(เพิ่มขีดเส้นใต้)
ที่ศาลมีว่าเป็นการชุมนุมที่ผิดกฎหมายนะครับ
----------------------------------------------------------------------------------------------
ไม่อยากให้พูดลอยๆแบบคิดไปเอง เอากฎหมายมาวางไว้ด้วย...
มาตรา 59 บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำ โดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทำโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้อง รับผิดเมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดย แจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา
กระทำโดยเจตนา ได้แก่กระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและใน ขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น
ถ้าผู้กระทำมิได้รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของความผิด จะถือว่า ผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นมิได้
กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำ โดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและ พฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้ เพียงพอไม่
การกระทำ ให้หมายความรวมถึงการให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดย งดเว้นการที่จักต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย
มาตรา 80 ผู้ใดลงมือกระทำความผิดแต่กระทำไปไม่ตลอด หรือ กระทำไปตลอดแล้วแต่การกระทำนั้นไม่บรรลุผล ผู้นั้นพยายามกระทำความผิด
ผู้ใดพยายามกระทำความผิด ผู้นั้นต้องระวางโทษสองในสามส่วน ของโทษที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 83 ในกรณีความผิดใดเกิดขึ้นโดยการกระทำของบุคคลตั้งแต่ สองคนขึ้นไป ผู้ที่ได้ร่วมกระทำความผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวการ ต้องระวางโทษ ตามที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 84 ผู้ใดก่อให้ผู้อื่นกระทำความผิดไม่ว่าด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรือยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีอื่นใด ผู้นั้นเป็นผู้ใช้ให้กระทำ ความผิด
ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทำความผิดนั้น ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวการ ถ้าความผิดมิได้กระทำลง ไม่ว่าจะเป็นเพราะผู้ถูกใช้ไม่ยอมกระทำ ยังไม่ได้ กระทำหรือเหตุอื่นใด ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพียงหนึ่งในสามของโทษที่กำหนดไว้ สำหรับความผิดนั้น
มาตรา 288 ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุก ตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี
~ ศรอรชุน ~
(เพิ่มขีดเส้นใต้)
แสดงความคิดเห็น
.... ตระกองขวัญ vs ศรอรชุน ว่าด้วยคดีอาญาของ "อภิสิทธิ์" และ "ธาริต" ....
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
ส.ส.สุราษฎร์ธานี อดีตรองนายก ฯ และอดีต ผอ.ศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน(ศอฉ.) ตกเป็นผู้ต้องหาที่ 1-2
ร่วมกันก่อให้ผู้อื่นฆ่าและพยายามฆ่าคนตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59,80, 83, 84 และ 288
อภิสิทธิ์และสุเทพ ฟ้อง
ธาริตและพนักงานสอบสวนที่เกี่ยวข้อง...
ในความผิดฐานร่วมกันเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ หรือโดยทุจริต และเป็นเจ้าพนักงานสอบสวนกระทำการโดยมีเจตนากลั่นแกล้งให้ผู้อื่นได้รับโทษอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83, 90, 157 และ 200 กรณีที่ได้มีกรสรุปสำนวนสั่งฟ้องนายอภิสิทธิ์และนายสุเทพในข้อหาก่อให้ผู้อื่นฆ่าและพยายามฆ่าโดยเจตนาและเล็งเห็นผล ในการที่ ศอฉ.มีคำสั่งใช้กำลังเจ้าหน้าที่กระชับพื้นที่การชุมนุมกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ เมื่อปี 2553
ประเด็นเอาสโคปแค่นี้พอ...
เชิญคุณตระกองขวัญเปิดประเด็น เราอาจผลัดถามตอบ หรือเล่นเป็นประเด็นๆไป จนกว่าจะได้ข้อยุติ...