มีบทความเขื่อนขันธ์มาฝากกัน
วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน 2556 เวลา 00:00 น.
ที่ผ่านมาผมสนับสนุน การทำงานขององค์กรอิสระและกระบวนการยุติธรรมมาโดยตลอด เพียงแต่การตรวจสอบและหลัก “นิติรัฐ” ต้องยึดมั่นกับหลักการและความโปร่งใส คนส่วนใหญ่ในสังคมจึงจะยอมรับได้
แต่กรณีที่ กรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ร่วมกันเป็นโจทก์ยื่นฟ้องหมิ่นประมาท น.ส.ณัฎฐา โกมลวาทิน ผู้ดำเนินรายการสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส บอกตามตรงผมไม่เห็นด้วย เพราะเห็นว่าในฐานะคนทำสื่อก็ต้องค้นหาความจริง
ส่วนในสำนวนเดียวกันที่มีการฟ้องร้อง “ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์” นักวิจัยประจำสถาบันทีดีอาร์ไอ รวมอยู่ด้วย อันเนื่องมาจากการไปร่วมรายการที่มีน.ส.ณัฎฐาเป็นผู้ดำเนินรายการ เมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2556 และพูดถึงความเสียหายที่เกิดจากมาตรการขยายเวลาคืนคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ของ กทค. ผมเห็นว่า เมื่อ ดร.เดือนเด่นมั่นใจกับข้อมูล ก็คงพร้อมที่จะไปพิสูจน์ความจริงต่าง ๆ ตามกระบวนการยุติธรรม
เพราะแถลงการณ์ของกสทช. ระบุไว้ตอนหนึ่ง ถึงเหตุผลที่ตัดสินใจฟ้องร้องนักวิชาการและสื่อมวลชนว่า กสทช. ไม่ได้ไปข่มขู่ หรือใช้อิทธิพลไปห้ามสื่อนำเสนอข่าวการวิพากษ์วิจารณ์ กสทช. เพราะการวิพากษ์วิจารณ์ยังสามารถกระทำได้ แต่จะต้องไม่ใช่เอาข้อมูลที่ไม่จริงหรือบิดเบือน มานำเสนอก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
การฟ้องคดีนี้แท้จริงแล้ว จะส่งผลเป็นการปกป้องสื่อ ไม่ให้ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อทำลายองค์กรใด ๆ นอกจากนี้ยังทำให้เป็น การยกระดับมาตรฐานทางวิชาการ ของสถาบันวิจัยให้มีมากขึ้น
ที่ผ่านมาผมสนับสนุน การทำงานขององค์กรอิสระและกระบวนการยุติธรรมมาโดยตลอด เพียงแต่การตรวจสอบและหลัก “นิติรัฐ” ต้องยึดมั่นกับหลักการและความโปร่งใส คนส่วนใหญ่ในสังคมจึงจะยอมรับได้
แต่กรณีที่ กรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ร่วมกันเป็นโจทก์ยื่นฟ้องหมิ่นประมาท น.ส.ณัฎฐา โกมลวาทิน ผู้ดำเนินรายการสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส บอกตามตรงผมไม่เห็นด้วย เพราะเห็นว่าในฐานะคนทำสื่อก็ต้องค้นหาความจริง
ส่วนในสำนวนเดียวกันที่มีการฟ้องร้อง “ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์” นักวิจัยประจำสถาบันทีดีอาร์ไอ รวมอยู่ด้วย อันเนื่องมาจากการไปร่วมรายการที่มีน.ส.ณัฎฐาเป็นผู้ดำเนินรายการ เมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2556 และพูดถึงความเสียหายที่เกิดจากมาตรการขยายเวลาคืนคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ของ กทค. ผมเห็นว่า เมื่อ ดร.เดือนเด่นมั่นใจกับข้อมูล ก็คงพร้อมที่จะไปพิสูจน์ความจริงต่าง ๆ ตามกระบวนการยุติธรรม
เพราะแถลงการณ์ของกสทช. ระบุไว้ตอนหนึ่ง ถึงเหตุผลที่ตัดสินใจฟ้องร้องนักวิชาการและสื่อมวลชนว่า กสทช. ไม่ได้ไปข่มขู่ หรือใช้อิทธิพลไปห้ามสื่อนำเสนอข่าวการวิพากษ์วิจารณ์ กสทช. เพราะการวิพากษ์วิจารณ์ยังสามารถกระทำได้ แต่จะต้องไม่ใช่เอาข้อมูลที่ไม่จริงหรือบิดเบือน มานำเสนอก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
การฟ้องคดีนี้แท้จริงแล้ว จะส่งผลเป็นการปกป้องสื่อ ไม่ให้ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อทำลายองค์กรใด ๆ นอกจากนี้ยังทำให้เป็น การยกระดับมาตรฐานทางวิชาการ ของสถาบันวิจัยให้มีมากขึ้น
คงต้องยอมรับว่า นับตั้งแต่ “ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์” ก้าวเข้ามารับตำแหน่งประธานทีดีอาร์ไอ องค์กรก็เริ่มมีคำถามมาตลอดว่า ถึงมาตรฐานการทำงานและการใช้หลักเกณฑ์ตรวจสอบ โดยเฉพาะถูกมองว่าเลือกปฏิบัติ มุ่งเน้นตรวจสอบบริษัทสื่อสารบางค่าย แต่ละเลยบางค่ายบางบริษัท ทั้ง ๆ ที่มีข้อครหาว่าต่างชาติถือหุ้นใหญ่อยู่
หากย้อนกลับไปในปี 2527 ที่ทีดีอาร์ไอถูกตั้งขึ้น โดยเป็นมูลนิธิไม่หวังผลกำไรเป้าหมายหลัก คือ การวิจัยเชิงนโยบาย และ เผยแพร่ผลงานวิจัยให้รัฐบาลและเอกชน เพื่อสนับสนุนการกำหนดนโยบายระยะยาว ที่ส่งผลดีต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
เช่นเดียวกับ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เน้นการทำหน้าที่เสนอความเห็น โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความเป็นไปของภาวะเศรษฐกิจ
แต่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ทีดีอาร์ไอถูกตั้งคำถามว่า พุ่งเป้าโจมตีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยอย่างต่อเนื่อง หากจะอ้างว่าทำเพื่อส่วนรวมและมีความเป็นกลาง ทำไมไม่ตรวจสอบบริษัท ซึ่งอยู่ภายใต้การถือหุ้นของต่างชาติ แถมยังเกิน 50 % ด้วยซ้ำ
รวมทั้งยังคัดค้านการทำงานของ กสทช.แบบหัวชนฝา จนถูกมองว่าไร้เหตุผล แม้ กสทช. ได้ออกมาตรการเยียวยาผู้ใช้บริการกรณีสิ้นสุดการอนุญาต หรือสัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ หลังคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ จะหมดสัญญาสัมปทาน
เพื่อไม่ให้ประชาชนกว่า 17 ล้านเลขหมายต้องประสบปัญหาซิมดับ ซึ่งเป็นไปตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ ที่ต้องยึดหลักความต่อเนื่องของการให้บริการ และการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ ให้ประชาชนผู้ใช้บริการสามารถใช้บริการได้อย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นการใช้ กระบวนการยุติธรรม ช่วยพิสูจน์ความจริง ถือเป็นเรื่องดีที่สุด แต่ละฝ่ายจะได้นำข้อมูลและหลักฐานมาหักล้างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับสาธารณชน ถ้า กสทช.เอื้อประโยชน์ให้กับเอกชน ทำงานในลักษณะเลือกปฏิบัติ ก็ต้องถูกดำเนินคดี และยื่นถอดถอน
แต่ถ้าหากข้อมูลที่เป็นตัวแทนของทีดีอาร์ไอ ที่ออกมาพาดพิงหน่วยงานรัฐและเอกชน ปราศจากข้อเท็จจริง ก็ต้องรับผิดชอบ เพราะสังคมต้องอยู่ด้วยการยอมรับกฎกติกา.
เขื่อนขันธ์
>> dailynews.co.th/article/5/235593
ว่าด้วยความจริง-กสทช-TDRI
วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน 2556 เวลา 00:00 น.
ที่ผ่านมาผมสนับสนุน การทำงานขององค์กรอิสระและกระบวนการยุติธรรมมาโดยตลอด เพียงแต่การตรวจสอบและหลัก “นิติรัฐ” ต้องยึดมั่นกับหลักการและความโปร่งใส คนส่วนใหญ่ในสังคมจึงจะยอมรับได้
แต่กรณีที่ กรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ร่วมกันเป็นโจทก์ยื่นฟ้องหมิ่นประมาท น.ส.ณัฎฐา โกมลวาทิน ผู้ดำเนินรายการสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส บอกตามตรงผมไม่เห็นด้วย เพราะเห็นว่าในฐานะคนทำสื่อก็ต้องค้นหาความจริง
ส่วนในสำนวนเดียวกันที่มีการฟ้องร้อง “ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์” นักวิจัยประจำสถาบันทีดีอาร์ไอ รวมอยู่ด้วย อันเนื่องมาจากการไปร่วมรายการที่มีน.ส.ณัฎฐาเป็นผู้ดำเนินรายการ เมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2556 และพูดถึงความเสียหายที่เกิดจากมาตรการขยายเวลาคืนคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ของ กทค. ผมเห็นว่า เมื่อ ดร.เดือนเด่นมั่นใจกับข้อมูล ก็คงพร้อมที่จะไปพิสูจน์ความจริงต่าง ๆ ตามกระบวนการยุติธรรม
เพราะแถลงการณ์ของกสทช. ระบุไว้ตอนหนึ่ง ถึงเหตุผลที่ตัดสินใจฟ้องร้องนักวิชาการและสื่อมวลชนว่า กสทช. ไม่ได้ไปข่มขู่ หรือใช้อิทธิพลไปห้ามสื่อนำเสนอข่าวการวิพากษ์วิจารณ์ กสทช. เพราะการวิพากษ์วิจารณ์ยังสามารถกระทำได้ แต่จะต้องไม่ใช่เอาข้อมูลที่ไม่จริงหรือบิดเบือน มานำเสนอก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
การฟ้องคดีนี้แท้จริงแล้ว จะส่งผลเป็นการปกป้องสื่อ ไม่ให้ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อทำลายองค์กรใด ๆ นอกจากนี้ยังทำให้เป็น การยกระดับมาตรฐานทางวิชาการ ของสถาบันวิจัยให้มีมากขึ้น
ที่ผ่านมาผมสนับสนุน การทำงานขององค์กรอิสระและกระบวนการยุติธรรมมาโดยตลอด เพียงแต่การตรวจสอบและหลัก “นิติรัฐ” ต้องยึดมั่นกับหลักการและความโปร่งใส คนส่วนใหญ่ในสังคมจึงจะยอมรับได้
แต่กรณีที่ กรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ร่วมกันเป็นโจทก์ยื่นฟ้องหมิ่นประมาท น.ส.ณัฎฐา โกมลวาทิน ผู้ดำเนินรายการสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส บอกตามตรงผมไม่เห็นด้วย เพราะเห็นว่าในฐานะคนทำสื่อก็ต้องค้นหาความจริง
ส่วนในสำนวนเดียวกันที่มีการฟ้องร้อง “ดร.เดือนเด่น นิคมบริรักษ์” นักวิจัยประจำสถาบันทีดีอาร์ไอ รวมอยู่ด้วย อันเนื่องมาจากการไปร่วมรายการที่มีน.ส.ณัฎฐาเป็นผู้ดำเนินรายการ เมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2556 และพูดถึงความเสียหายที่เกิดจากมาตรการขยายเวลาคืนคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ของ กทค. ผมเห็นว่า เมื่อ ดร.เดือนเด่นมั่นใจกับข้อมูล ก็คงพร้อมที่จะไปพิสูจน์ความจริงต่าง ๆ ตามกระบวนการยุติธรรม
เพราะแถลงการณ์ของกสทช. ระบุไว้ตอนหนึ่ง ถึงเหตุผลที่ตัดสินใจฟ้องร้องนักวิชาการและสื่อมวลชนว่า กสทช. ไม่ได้ไปข่มขู่ หรือใช้อิทธิพลไปห้ามสื่อนำเสนอข่าวการวิพากษ์วิจารณ์ กสทช. เพราะการวิพากษ์วิจารณ์ยังสามารถกระทำได้ แต่จะต้องไม่ใช่เอาข้อมูลที่ไม่จริงหรือบิดเบือน มานำเสนอก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
การฟ้องคดีนี้แท้จริงแล้ว จะส่งผลเป็นการปกป้องสื่อ ไม่ให้ถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อทำลายองค์กรใด ๆ นอกจากนี้ยังทำให้เป็น การยกระดับมาตรฐานทางวิชาการ ของสถาบันวิจัยให้มีมากขึ้น
คงต้องยอมรับว่า นับตั้งแต่ “ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์” ก้าวเข้ามารับตำแหน่งประธานทีดีอาร์ไอ องค์กรก็เริ่มมีคำถามมาตลอดว่า ถึงมาตรฐานการทำงานและการใช้หลักเกณฑ์ตรวจสอบ โดยเฉพาะถูกมองว่าเลือกปฏิบัติ มุ่งเน้นตรวจสอบบริษัทสื่อสารบางค่าย แต่ละเลยบางค่ายบางบริษัท ทั้ง ๆ ที่มีข้อครหาว่าต่างชาติถือหุ้นใหญ่อยู่
หากย้อนกลับไปในปี 2527 ที่ทีดีอาร์ไอถูกตั้งขึ้น โดยเป็นมูลนิธิไม่หวังผลกำไรเป้าหมายหลัก คือ การวิจัยเชิงนโยบาย และ เผยแพร่ผลงานวิจัยให้รัฐบาลและเอกชน เพื่อสนับสนุนการกำหนดนโยบายระยะยาว ที่ส่งผลดีต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
เช่นเดียวกับ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เน้นการทำหน้าที่เสนอความเห็น โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความเป็นไปของภาวะเศรษฐกิจ
แต่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ทีดีอาร์ไอถูกตั้งคำถามว่า พุ่งเป้าโจมตีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทยอย่างต่อเนื่อง หากจะอ้างว่าทำเพื่อส่วนรวมและมีความเป็นกลาง ทำไมไม่ตรวจสอบบริษัท ซึ่งอยู่ภายใต้การถือหุ้นของต่างชาติ แถมยังเกิน 50 % ด้วยซ้ำ
รวมทั้งยังคัดค้านการทำงานของ กสทช.แบบหัวชนฝา จนถูกมองว่าไร้เหตุผล แม้ กสทช. ได้ออกมาตรการเยียวยาผู้ใช้บริการกรณีสิ้นสุดการอนุญาต หรือสัญญาการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ หลังคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ จะหมดสัญญาสัมปทาน
เพื่อไม่ให้ประชาชนกว่า 17 ล้านเลขหมายต้องประสบปัญหาซิมดับ ซึ่งเป็นไปตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ ที่ต้องยึดหลักความต่อเนื่องของการให้บริการ และการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ ให้ประชาชนผู้ใช้บริการสามารถใช้บริการได้อย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นการใช้ กระบวนการยุติธรรม ช่วยพิสูจน์ความจริง ถือเป็นเรื่องดีที่สุด แต่ละฝ่ายจะได้นำข้อมูลและหลักฐานมาหักล้างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับสาธารณชน ถ้า กสทช.เอื้อประโยชน์ให้กับเอกชน ทำงานในลักษณะเลือกปฏิบัติ ก็ต้องถูกดำเนินคดี และยื่นถอดถอน
แต่ถ้าหากข้อมูลที่เป็นตัวแทนของทีดีอาร์ไอ ที่ออกมาพาดพิงหน่วยงานรัฐและเอกชน ปราศจากข้อเท็จจริง ก็ต้องรับผิดชอบ เพราะสังคมต้องอยู่ด้วยการยอมรับกฎกติกา.
เขื่อนขันธ์
>> dailynews.co.th/article/5/235593