สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 6
คนจ้วงคิดว่าตัวเองมีชนชาติเดียวกับไทลื้อสิบสองปันนา แต่คนจีนส่วนใจมักจะกดชาวจ้วงแล้วบอกคนอื่นว่าชาวจ้วงนั้นกลายเป็นคนฮั่นไปแล้ว หรือภาษาจีนเรียกว่า ฮั่นฮว่า 漢化 แปลว่ากลายเป็นฮั่น
แต่ชาวจ้วงส่วนใหญ่ที่ใช้อินเตอร์เนทมักจะบอกว่าตัวนั้นเป็นพี่น้อง หรือ ภาษาจ้วงเรียกว่า เป๋หนง กับคนสายไท มีบางคนดูหนังไทยแล้วบอกว่าฟังออก 60 เปอร์เซนเลยก็มี เช่นประโยคหนึ่งในหนัง
ไทยที่บอกว่า "เฮ้ย แม่เมิงมีชู้" คนจ้วงฟังออกทันทีว่าแปลว่าอะไร
ใครพออ่านจีนออกลองหากระทู้เถียงกันของคนจีนฮั่นกับคนจ้วงดูที่เวบไป่ตู้ได้ โดยใช้คีย์เวิร์ด 壯族和傣族 (เผ่าจ้วงกับเผ่าไท) คนจีนมาอ่านมักไม่พอใจ ที่จ้วงพยายามจะมาสนิทกับทางไทย และสายไท เพราะจ้วงถือเป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มใหญ่รองจากฮั่น มีจะราว 17-20 ล้านเลยทีเดียว ถ้าจ้วงตีตัวออกห่างจีนก็รู้สึกหวั่นๆ
คนจ้วงเป็นเครือร้อยเผ่า ไป่เยว (ป๊ากหยวิด) ที่กระจัดกระจายกันไป
คนจ้วงพยายามจะเขียนภาษาจ้วงด้วยอักษรจีน (มีที่คิดเองเรียกว่าสือดิบด้วย)
หากเราใช้คำในภาษาไทยเขียนเป็นประโยคยาวๆ จะมีคำที่คล้ายตีนแทรกอยู่โดยไม่รู้ตัว
ลองเอาคำไทย เทียบกับคำกวางตุ้งนะครับ แล้วคำจ้วงมักจะอยู่ระหว่างไทยกับคำกวางตุ้ง
ซึ่งคำไทยเหล่านี้เป็นคำที่หลายคนคิดว่าเป็นคำไทยแท้ แต่ว่าหากมองดีดีก็จะมีส่วนคล้ายภาษาถิ่นของจีนทางใต้แบบไม่น่าเชื่อ
ซึ่งเป็นคนละกรณีกับ ภาษาแต้จิ๋วที่มาจากคนจีนอพยพในรุ่นหลัง
เช่นพวก ถ้วย โพย เทียบ(เชิญ) เซ๊ง เก็ง ไล้ ขื่อ ปุ้งกี๋ หมี่ เจ้าสัว อันนี้ไม่ใช้
ฉันคิดว่า ฉันตัวใหญ่ แต่เขาตัวบ่อใหญ่ เขาอยู่ที่ห้วย
朕คิด話 朕體大 但話佢體無大
จั่มหวาจั่มไถต่าย ต่านหวาเขยไถ่โหมวต่าย
朕 จีนกลาง - เจิ้น กวางตุ้ง จั่ม ไทยออกเสียงว่า"ฉัน"
話 จีนกลาง ฮว่า กวางตุ้ง หวา หรือ หว่า แปลว่า พูด หรือ กล่าว ตรงกับภาษาไทย "ว่า" พูดว่า กล่าวกว่า บอกว่า
體 จีนกลางถี่หรือที กวางตุ้ง ไถ (ฮกเกี้ยน "เท่") แปลว่า ร่างกาย ตรงกับภาษาไทยว่า "ตัว"
佢 คำนี้เป็นคำกวางตุ้ง ออกเสียงว่า เขอย (ห่อปาก) แปลว่า "เขา" ในภาษาไทย
無 จีนกลาง อู๋ กวางตุ้งออกเสียงว่า โหม่ว ฮกเกี้ย เบ่อ หรือ บ่อ แปลว่า "ไม่" หรือ ไม่มีในภาษาไทย หรือ คำว่า "บ่" ในภาษาแถวอีสาน-เหนือ
大จีนกลาง ต้า กวางตุ้ง ต่าย ฮกเกี้ยน-แต้จิ๋ว ตั่ว ตรงกับภาษาไทยว่า "โต" ตัวโต ถอดเป็นอักษรจีนว่า 「體大」
ห้ามบอกว่าเคยมองเห็นม้า
禁報話過望現馬
กั่ม โปว หวา กว๊อ หม่อง หยิ่น หมา
ห้าม บอก ว่า เคย เห็น ม้า
禁 ภาษาจีนกลางออกเสียงว่า จิ้น กวางตุ้งออกเสียงว่า ก่าม ตรงกับภาษาไทยว่า "ห้าม"
報 ภาษาจีนกลางออกเสียงว่า ป้าว กวางตุ้งออกเสียงว่า โปว ตรงกับเสียงไทยว่า "บอก"
話 ดูข้างบน
過 จีนกลางออกเสียงว่า กว้อ กวางตุ้งออกเสียงว่า กว๊อ แปลว่า "เคย" ในภาษาไทย หรือแปลว่า ข้าม,ผ่าน หรือคล้ายกับคำว่า "กาย" ในภาษาเหนือ-อีสาน เตียวกายไป / ย่างกายไป (เดินผ่านไป)
望 จีนกลางออกเสียงว่า วั่ง กวางตุ้งออกเสียงว่า หม่อง ตรงกับคำไทยว่า "มอง"
現 จีนกลางออกเสียงว่า เซี่ยน กวางตุ้งออกเสียงว่า หยิ่น ตรงกับไทยว่า "เห็น" มองเห็น ปราฏเห็น แสดงออกมา
馬 จีนกลางเสียงว่า หม่า กวางตุ้งออกเสียงว่า หมา ตรงกับไทยว่า ม้า
มองเห็นเขาอยู่ที่ห่างๆ
望現佢於地遠遠
หม่องหยิ่นเขอยจวีเต่ยหยวิน หยวิน
望現佢 ดูข้างบน
於 หยีว์ กวางตุ้งออกว่า จวี คำไทย "อยู่"
遠 หย่วน กวางตุ้ง "หยวิ่น" ฮกเกี้ยน หึง คำไทย "ห่าง" ไกล (ไทยใหญ่ "หย่าน" )
กูมองม้ากูมองทุ่ง
我望馬望田
หงอหม่องหมาหม่องถี่น
我 หว่อ กวางตุ้ง หงอ แต้จิ๋ว อั้ว ฮกเกี้ยนบางถิ่น กั๊วะ ตรงกับคำไทยว่า "กู GU "
田 เถียน กวางตุ้ง ถี่น แต้จิ๋ว ชั๊ง ตรงกับไทยว่า "ทุ่ง"
กูอยากเห็นเมิงกับเขา
我欲現儂及佢
หงอเหยิกหยื่นหนงกับเขอย
欲 ยี่ว์ กวางตุ้ง เหยอก ภาไทย "อยาก"
儂 หนง กวางตุ้ง หนง (เซี่ยงไฮั หนง) คล้ายไทยคำว่า "มึ J"
及จี๋ กวางตุ้ง กับ คำไทย "กับ" กับเขา กับเธอ ไปกับเขา และ
เคยรวบรวมคำเอาไว้ ไม่รู้ลิสต์หายไปไหม ส่วนตัวเชื่อว่าที่คำตระกูลไทยคล้ายคำจีนอย่างนี้
ไม่ใช่เพราะความบังเอิญแน่นอน และคำเหล่านี้กลายเป็นคำไทยแท้ในสายตาคนทั่วไป
โดยทั้งนี้ทั้งนั้นผมไม่ขอฟันธงว่าใครรับมาจากใคร แต่มันมีการแชร์เกินขึ้น
คำของภาษาจ้วงนั้นไม่ต้องพูดถึงเลย มันเป็นภาษาที่อยู่ตรงกลางระกว่างตระกูลไทยและจีน
ตอนใต้ สามารถถอดเสียงถอดคำได้เยอะมาก
เพราะฉะนั้นผมคิดว่า ในแง่ของเกาหลี ญี่ปุ่น เวียดนาม อาจจะรับคำจากจีนเป็นศัพท์ ทางการศึกษามาก
ส่วนภาษาไทยนั้น ถ้าคนตระกูลไทเคยเป็นส่วนหนึ่งในจีนแต่ก่อนเราก็รับคำมา แต่ต่างจากที่ ประเทศด้านบนรับ
จนวันหนึ่งเรามีคนกลุ่มหนึ่งย้ายมาทางใต้แถวนี้ รับคำขอม เขมร มอญ และ บาลี สันสกฤษ (ลักษณะเดียวกับที่เกาลีญี่ปุ่นเวียดนามรับ)
เราเลยมีคำอื่นปะปนจนไม่รู้รากคำบางคำ
แต่ชาวจ้วงส่วนใหญ่ที่ใช้อินเตอร์เนทมักจะบอกว่าตัวนั้นเป็นพี่น้อง หรือ ภาษาจ้วงเรียกว่า เป๋หนง กับคนสายไท มีบางคนดูหนังไทยแล้วบอกว่าฟังออก 60 เปอร์เซนเลยก็มี เช่นประโยคหนึ่งในหนัง
ไทยที่บอกว่า "เฮ้ย แม่เมิงมีชู้" คนจ้วงฟังออกทันทีว่าแปลว่าอะไร
ใครพออ่านจีนออกลองหากระทู้เถียงกันของคนจีนฮั่นกับคนจ้วงดูที่เวบไป่ตู้ได้ โดยใช้คีย์เวิร์ด 壯族和傣族 (เผ่าจ้วงกับเผ่าไท) คนจีนมาอ่านมักไม่พอใจ ที่จ้วงพยายามจะมาสนิทกับทางไทย และสายไท เพราะจ้วงถือเป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มใหญ่รองจากฮั่น มีจะราว 17-20 ล้านเลยทีเดียว ถ้าจ้วงตีตัวออกห่างจีนก็รู้สึกหวั่นๆ
คนจ้วงเป็นเครือร้อยเผ่า ไป่เยว (ป๊ากหยวิด) ที่กระจัดกระจายกันไป
คนจ้วงพยายามจะเขียนภาษาจ้วงด้วยอักษรจีน (มีที่คิดเองเรียกว่าสือดิบด้วย)
หากเราใช้คำในภาษาไทยเขียนเป็นประโยคยาวๆ จะมีคำที่คล้ายตีนแทรกอยู่โดยไม่รู้ตัว
ลองเอาคำไทย เทียบกับคำกวางตุ้งนะครับ แล้วคำจ้วงมักจะอยู่ระหว่างไทยกับคำกวางตุ้ง
ซึ่งคำไทยเหล่านี้เป็นคำที่หลายคนคิดว่าเป็นคำไทยแท้ แต่ว่าหากมองดีดีก็จะมีส่วนคล้ายภาษาถิ่นของจีนทางใต้แบบไม่น่าเชื่อ
ซึ่งเป็นคนละกรณีกับ ภาษาแต้จิ๋วที่มาจากคนจีนอพยพในรุ่นหลัง
เช่นพวก ถ้วย โพย เทียบ(เชิญ) เซ๊ง เก็ง ไล้ ขื่อ ปุ้งกี๋ หมี่ เจ้าสัว อันนี้ไม่ใช้
ฉันคิดว่า ฉันตัวใหญ่ แต่เขาตัวบ่อใหญ่ เขาอยู่ที่ห้วย
朕คิด話 朕體大 但話佢體無大
จั่มหวาจั่มไถต่าย ต่านหวาเขยไถ่โหมวต่าย
朕 จีนกลาง - เจิ้น กวางตุ้ง จั่ม ไทยออกเสียงว่า"ฉัน"
話 จีนกลาง ฮว่า กวางตุ้ง หวา หรือ หว่า แปลว่า พูด หรือ กล่าว ตรงกับภาษาไทย "ว่า" พูดว่า กล่าวกว่า บอกว่า
體 จีนกลางถี่หรือที กวางตุ้ง ไถ (ฮกเกี้ยน "เท่") แปลว่า ร่างกาย ตรงกับภาษาไทยว่า "ตัว"
佢 คำนี้เป็นคำกวางตุ้ง ออกเสียงว่า เขอย (ห่อปาก) แปลว่า "เขา" ในภาษาไทย
無 จีนกลาง อู๋ กวางตุ้งออกเสียงว่า โหม่ว ฮกเกี้ย เบ่อ หรือ บ่อ แปลว่า "ไม่" หรือ ไม่มีในภาษาไทย หรือ คำว่า "บ่" ในภาษาแถวอีสาน-เหนือ
大จีนกลาง ต้า กวางตุ้ง ต่าย ฮกเกี้ยน-แต้จิ๋ว ตั่ว ตรงกับภาษาไทยว่า "โต" ตัวโต ถอดเป็นอักษรจีนว่า 「體大」
ห้ามบอกว่าเคยมองเห็นม้า
禁報話過望現馬
กั่ม โปว หวา กว๊อ หม่อง หยิ่น หมา
ห้าม บอก ว่า เคย เห็น ม้า
禁 ภาษาจีนกลางออกเสียงว่า จิ้น กวางตุ้งออกเสียงว่า ก่าม ตรงกับภาษาไทยว่า "ห้าม"
報 ภาษาจีนกลางออกเสียงว่า ป้าว กวางตุ้งออกเสียงว่า โปว ตรงกับเสียงไทยว่า "บอก"
話 ดูข้างบน
過 จีนกลางออกเสียงว่า กว้อ กวางตุ้งออกเสียงว่า กว๊อ แปลว่า "เคย" ในภาษาไทย หรือแปลว่า ข้าม,ผ่าน หรือคล้ายกับคำว่า "กาย" ในภาษาเหนือ-อีสาน เตียวกายไป / ย่างกายไป (เดินผ่านไป)
望 จีนกลางออกเสียงว่า วั่ง กวางตุ้งออกเสียงว่า หม่อง ตรงกับคำไทยว่า "มอง"
現 จีนกลางออกเสียงว่า เซี่ยน กวางตุ้งออกเสียงว่า หยิ่น ตรงกับไทยว่า "เห็น" มองเห็น ปราฏเห็น แสดงออกมา
馬 จีนกลางเสียงว่า หม่า กวางตุ้งออกเสียงว่า หมา ตรงกับไทยว่า ม้า
มองเห็นเขาอยู่ที่ห่างๆ
望現佢於地遠遠
หม่องหยิ่นเขอยจวีเต่ยหยวิน หยวิน
望現佢 ดูข้างบน
於 หยีว์ กวางตุ้งออกว่า จวี คำไทย "อยู่"
遠 หย่วน กวางตุ้ง "หยวิ่น" ฮกเกี้ยน หึง คำไทย "ห่าง" ไกล (ไทยใหญ่ "หย่าน" )
กูมองม้ากูมองทุ่ง
我望馬望田
หงอหม่องหมาหม่องถี่น
我 หว่อ กวางตุ้ง หงอ แต้จิ๋ว อั้ว ฮกเกี้ยนบางถิ่น กั๊วะ ตรงกับคำไทยว่า "กู GU "
田 เถียน กวางตุ้ง ถี่น แต้จิ๋ว ชั๊ง ตรงกับไทยว่า "ทุ่ง"
กูอยากเห็นเมิงกับเขา
我欲現儂及佢
หงอเหยิกหยื่นหนงกับเขอย
欲 ยี่ว์ กวางตุ้ง เหยอก ภาไทย "อยาก"
儂 หนง กวางตุ้ง หนง (เซี่ยงไฮั หนง) คล้ายไทยคำว่า "มึ J"
及จี๋ กวางตุ้ง กับ คำไทย "กับ" กับเขา กับเธอ ไปกับเขา และ
เคยรวบรวมคำเอาไว้ ไม่รู้ลิสต์หายไปไหม ส่วนตัวเชื่อว่าที่คำตระกูลไทยคล้ายคำจีนอย่างนี้
ไม่ใช่เพราะความบังเอิญแน่นอน และคำเหล่านี้กลายเป็นคำไทยแท้ในสายตาคนทั่วไป
โดยทั้งนี้ทั้งนั้นผมไม่ขอฟันธงว่าใครรับมาจากใคร แต่มันมีการแชร์เกินขึ้น
คำของภาษาจ้วงนั้นไม่ต้องพูดถึงเลย มันเป็นภาษาที่อยู่ตรงกลางระกว่างตระกูลไทยและจีน
ตอนใต้ สามารถถอดเสียงถอดคำได้เยอะมาก
เพราะฉะนั้นผมคิดว่า ในแง่ของเกาหลี ญี่ปุ่น เวียดนาม อาจจะรับคำจากจีนเป็นศัพท์ ทางการศึกษามาก
ส่วนภาษาไทยนั้น ถ้าคนตระกูลไทเคยเป็นส่วนหนึ่งในจีนแต่ก่อนเราก็รับคำมา แต่ต่างจากที่ ประเทศด้านบนรับ
จนวันหนึ่งเรามีคนกลุ่มหนึ่งย้ายมาทางใต้แถวนี้ รับคำขอม เขมร มอญ และ บาลี สันสกฤษ (ลักษณะเดียวกับที่เกาลีญี่ปุ่นเวียดนามรับ)
เราเลยมีคำอื่นปะปนจนไม่รู้รากคำบางคำ
แสดงความคิดเห็น
50 เรื่องของชาวจ้วงที่คุณควรรู้
2. ชาวจ้วงมีเขตปกครองตนเองชื่อว่าเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง (广西壮族自治区)
3. ชาวจ้วงพูดภาษาตระกูลไท-กะไดกลุ่มภาษาไท
4. ชาวจ้วงนับเลข 1-10 เหมือนไทย บางกลุ่มที่นับเลข 1 ว่า เดียว
5. ชาวจ้วงสื่อสารกันเองไม่รู้เรื่อง
6. ชาวจ้วงในชนบทมีล่ามประจำหมู่บ้าน
7. ชาวจ้วงในเมืองนิยมใช้ภาษาจีนถิ่นใต้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างกัน
8. ภาษาจ้วงมีอยู่สองกลุ่มสำเนียงคือสำเนียงจ้วงเหนือกับสำเนียงจ้วงใต้
9. ภาษาจ้วงเหนือไม่ตัวหนังสือ
10. ภาษาจ้วงเหนือเคยใช้อักษรจีนเขียนหนังสือ
11. ปัจจุบันภาษาจ้วงเหนือใช้อักษรโรมันเขียนหนังสือ
12. ภาษาจ้วงมาตรฐาน (话壮) จัดอยู่ในกลุ่มสำเนียงภาษาจ้วงเหนือ
13. อักษรจ้วงใต้มีอักษรภาพเป็นของตนเอง แต่ไม่เป็นที่ยอมรับเพราะขาดความเป็นเอกภาพ
14. ชาวจ้วงภาคใต้ของเขตปกครองตนเองส่วนมากเป็นเผ่าผู้หนง (濮侬) มีอาชีพรับจ้างทำนา
15. ปัจจุบันชาวจ้วงเผ่าผู้หนง (濮侬) ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างในเมืองเพราะไม่มีที่ดินทำกิน
16. นักประวัติศาสตร์จีนเชื่อว่าชาวจ้วงเผ่าผู้หนง (濮侬) สืบเชื้อสายมาจากเสินหนง (神农)
17. ชาวจ้วงเผ่าผู้หนง (濮侬) มีวีรบุรุษชื่อว่าหนงจื้อเก๋า (儂智高)
18. ผู้หญิงชาวจ้วงเผ่าผู้หนง (濮侬) นิยมคาดผมด้วยผ้าลายตาราง
19. ผู้ชายชาวจ้วงเผ่าผู้หนง (濮侬) ร้องเพลงเกี้ยวเก่ง เพลงที่ชาวจ้วงเผ่าผู้หนง (濮侬) ชอบร้องมีทำนองชื่อว่า "นางเอ๋ย"
20. ชาวจ้วงใต้เรียกดินแดนของชาวจ้วงเหนือว่า ไกว๋ (鬼) แปลว่านับถือผี เรียกคนประกอบพิธีทางศาสนาว่าผู้หมอ (濮摩)
21. ชาวจ้วงเหนือในเขตปกครองตนเองทั้งหมดเป็นเผ่าปู้อี (布依)
22. ชาวจ้วงเผ่าปู้อี (布依) อยู่ในจังหวัดกุ้ยโจว (貴州) มากกว่าเขตปกครองตนเอง
23. ชาวจ้วงเผ่าปู้อี (布依) บริโภคเนื้อหมาเพราะเชื่อว่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์
24. ชาวจ้วงเผ่าปู้อี (布依) เชื่อว่าตนเองสืบเชื้อสายมาจากเงียก (ŋɨə)
25. ในอดีตชาวจ้วงเผ่าปู้อี (布依) ส่วนมากมีชื่อเรียกว่า "ฉ่า" ผู้ชายนิยมสักตามตัว ผู้หญิงนิยมสักใบหน้า
26. อำเภอที่มีชื่อนำหน้าว่า กุ้ย (桂) คือถิ่นของชาวจ้วงเผ่าปู้อี (布依)
27. ชาวจ้วงในเขตเหวินส่าน (文山) ของจังหวัดยูนนาน (云南) ส่วนมากเป็นเผ่าถูหล่าว (土僚)
28. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) ฟังภาษาไทยออก
29. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) มีเทพเจ้าแห่งการเกษตรคือผู้เล่าโต (布洛陀)
30. ผู้เล่าโต (布洛陀) มีนามย่อว่าแถนลอ (天洛) เป็นประมุขของผีไท้ทั้งปวง
31. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) เชื่อว่าตนเองเกิดมาจากขวดที่ถูกแทงจนแตก
32. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม
33. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) นับถือผีไท้ เรียกคนประกอบพิธีทางศาสนาว่าผู้ฟ้า (濮天)
34. ผีไท้ที่ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) นับถือ โปรดข้าวเหนียวห้าสี (五色糯米饭)
35. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) มี เทศกาลลงทุ่งก่อนฤดูเก็บเกี่ยว เทศกาลตามข้าวใหม่หลังสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว
36. อำเภอที่มีชื่อนำหน้าว่า เมือง (勐) คือถิ่นของชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚)
37. ผีไท้ของเผ่าถูหล่าว (土僚) ไม่ถูกกับผีผู้จ้วง (濮壮) ซึ่งถือกำเนิดจากสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
38. เผ่าผู้จ้วง (濮壮) โยกย้ายมาจากรัฐสิ้นสภาพในประเทศไทย
39. เผ่าผู้จ้วง (濮壮) แทนตัวเอง ว่า "กู๋" เรียกคนอื่นว่า "เหมิ่ง"
40. ชาวจ้วงเผ่าถูหล่าว (土僚) เรียกเผ่าผู้จ้วง (濮壮) ว่าผู้ขอม แปลว่ามาจากทิศใต้
41. รัฐบาลจีนกำหนดให้ผู้ขอมในจังหวัดไกว๋เจ้า (貴州) เป็นอีกชาติพันธุ์
42. ผีที่เผ่าผู้จ้วง (濮壮) นับถือ โปรดสัตว์จำพวกวัวควาย
43. อำเภอที่มีชื่อนำหน้าหรือลงท้ายว่า เชียง (城) คือถิ่นของเผ่าผู้จ้วง (濮壮)
44. ชาวจ้วงบนเกาะไหหลำ (海南) เคยนับถือลัทธิล่าหัวคนต่างถิ่น
45. ชาวจ้วงบนเกาะไหหลำ (海南) เชื่อว่าตัวเองสืบเชื้อสายมาจากกบ
46. รัฐบาลจีนกำหนดให้ชาวจ้วงบนเกาะไหหลำ (海南) เป็นชาติพันธุ์หลี่ (黎)
47. ชาวจ้วงเรียกชาวจ้วงด้วยกันที่เลิกนับถือศาสนาพุทธแล้วกลับมานับถือผีว่า ผู้ยั้ง (濮仰)
48. ชาวจ้วงมีประเพณีขุดกระดูกคนตายขึ้นมาทำความสะอาด
49. กลองทองแดง (铜鼓) เป็นสัญลักษณ์ประจำชาติพันธุ์จ้วง นักวิชาการจีนสมัยใหม่เชื่อว่าชาวจ้วงสืบเชื้อสายมาจากชาวเวี่ยร้อยเผ่า (百越)
50. ชาวจ้วงเรียกชนเผ่าอื่นที่พูดภาษาตระกูลเดียวกันว่าผู้เรา (Bouxraeuz) เรียกชาวไทยว่าผู้ถู (Bouxdoj)
อัพเดทข้อมูล
อ่านกระทู้ต่อเนื่องได้ที่ https://ppantip.com/topic/35183077