เรื่องมันมีอยู่ว่า
หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี บุคคลตามรูป (เผื่อใครไม่รู้จัก)
ตำแหน่งปัจจุบัน
1. ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการเสริมสร้างธรรมาภิบาลด้านพลังงาน วุฒิสภา
2. ผอ.ศูนย์วิจัยนโยบายพลังงานและทรัพยากร ม.รังสิต
3. ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน (น่าจะแต่งตั้งกันเอง)
เขาเอาเอกสารที่เขาได้รับจาก ปตท มาเผยแพร่เรื่องราคาซื้อขายก๊าซของกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีโดยทำการตัดต่อมาเฉพาะบางส่วนดังรูป
http://on.fb.me/14oplqM
โดยมีความจงใจในการนำเสนอข้อมูลไปในทิศทางว่า
"กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี (เน้นว่าเป็น ปตท) ซื้อ LPG มาเป็นวัตถุดิบจากแหล่งเดียวคือโรงแยกก๊าซธรรมชาติในราคาเพียง 16-18 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งขัดแย้งกับเอกสารที่ทางกระทรวงพลังงานเคยออกมาก่อนหน้านี้ว่าภาคปิโตรเคมีซื้ออยู่ที่ 22.30 บาทต่อกิโลกรัม"
แต่ในความเป็นจริงเอกสารดังกล่าวที่ทาง ปตท ส่งไปให้นั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 หน้าด้วยกันและมีเนื้อหาสาระสำคัญที่หากไม่นำไปแสดงให้เห็นด้วยอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดแก่ผู้ที่ได้รับการสื่อสารนั้นๆด้วย ดังรูป
เพื่อการอธิบายที่เข้าใจมากขึ้นของเอกสารเต็มทั้ง 3 หน้า (ไม่ผ่านการตัดต่อโดยสันDAN คนบางคน) ขออนุญาตแนบเอกสารเพิ่มอีก 1 ไฟล์ดังรูป
จากรูปจะเห็นว่าปิโตรเคมีมีการใช้ LPG จาก 2 แหล่งคือ
1. โรงแยกก๊าซ = 550 US$/ton = 16.50 บาท/กิโลกรัม --> อันนี้ที่หม่อมเขาหยิบจับไปขยาย
2. โรงกลั่น = 764 US$/ton = 22.92 บาท/กิโลกรัม --> อันนี้ที่หม่อมเขาปิดเอาไว้
3. ผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะว่าทำไมพอเอา 550 + 764 มาเฉลี่ยแล้วเป็น 723 น่ะถ้าคิดแบบถัวเฉลี่ยจริงก็คงได้ตามสมการ 20% ของ 550 + 80% ของ 764
ผมสนใจไปที่เลข 16.XX ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี กับตัวเลข 18.XX ของครัวเรือน
เลข 16.XX นั้นเป็นเลขที่ภาคปิโตรเคมีจ่ายให้แก่โรงแยกก๊าซ
ขณะที่เลข 18.XX ที่เป็นของภาคครัวเรือนนั้นต้องไปดูเพิ่มที่โครงสร้างราคา LPG ดังตาราง
http://www.eppo.go.th/petro/price/pt-price-st-2013-08-23.xls
จะเห็นว่า
ราคาหน้าโรงแยกเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันนั้นพบว่าปิโตรเคมี (ซื้ออยู่ที่ 16.XX) แพงกว่าที่ภาคครัวเรือน (รวมถึงภาคอื่นๆ ซื้ออยู่ที่ 10.XX) เท่ากับ 6.XX บาทต่อกิโลกรัม
แต่สาเหตุที่ราคาขายปลีกของภาคครัวเรือน ขนส่ง และอุตสาหกรรม แพงกว่าของภาคปิโตรเคมีนั้นก็เพราะมีการเก็บภาษี เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง และค่าการตลาด นั่นเอง
อันนี้คือข้อเท็จจริง (บางส่วน) ที่ผมอยากนำเสนอ ส่วนที่ว่าทำไมภาคอื่นต้องจ่ายเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ขณะที่ภาคปิโตรไม่ต้องจ่าย (จริงๆจ่าย 1 บาทต่อกิโลกรัม) ถ้าให้ผมตอบแบบกำปั้นทุบดินก็เพราะ "ไม่ได้เอาไปใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง" แต่จริงๆมันมีเหตุผลมากกว่านั้น ซึ่งยังไม่ขอกล่าวถึงในที่นี้แล้วกัน
สุดท้ายก่อนจากกันฝากภาพนี้ไว้ครับ
ฝากอีกรูปครับ
หม่อมจอมมั่ว ขอเอกสารเขา พอเอามากล่อมสาวกก็ตัดเอาเฉพาะส่วนที่ตัวเอ็งอยากเห็น
ตำแหน่งปัจจุบัน
1. ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการเสริมสร้างธรรมาภิบาลด้านพลังงาน วุฒิสภา
2. ผอ.ศูนย์วิจัยนโยบายพลังงานและทรัพยากร ม.รังสิต
3. ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน (น่าจะแต่งตั้งกันเอง)
เขาเอาเอกสารที่เขาได้รับจาก ปตท มาเผยแพร่เรื่องราคาซื้อขายก๊าซของกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีโดยทำการตัดต่อมาเฉพาะบางส่วนดังรูป http://on.fb.me/14oplqM
โดยมีความจงใจในการนำเสนอข้อมูลไปในทิศทางว่า "กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี (เน้นว่าเป็น ปตท) ซื้อ LPG มาเป็นวัตถุดิบจากแหล่งเดียวคือโรงแยกก๊าซธรรมชาติในราคาเพียง 16-18 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งขัดแย้งกับเอกสารที่ทางกระทรวงพลังงานเคยออกมาก่อนหน้านี้ว่าภาคปิโตรเคมีซื้ออยู่ที่ 22.30 บาทต่อกิโลกรัม"
แต่ในความเป็นจริงเอกสารดังกล่าวที่ทาง ปตท ส่งไปให้นั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 หน้าด้วยกันและมีเนื้อหาสาระสำคัญที่หากไม่นำไปแสดงให้เห็นด้วยอาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดแก่ผู้ที่ได้รับการสื่อสารนั้นๆด้วย ดังรูป
เพื่อการอธิบายที่เข้าใจมากขึ้นของเอกสารเต็มทั้ง 3 หน้า (ไม่ผ่านการตัดต่อโดยสันDAN คนบางคน) ขออนุญาตแนบเอกสารเพิ่มอีก 1 ไฟล์ดังรูป
จากรูปจะเห็นว่าปิโตรเคมีมีการใช้ LPG จาก 2 แหล่งคือ
1. โรงแยกก๊าซ = 550 US$/ton = 16.50 บาท/กิโลกรัม --> อันนี้ที่หม่อมเขาหยิบจับไปขยาย
2. โรงกลั่น = 764 US$/ton = 22.92 บาท/กิโลกรัม --> อันนี้ที่หม่อมเขาปิดเอาไว้
3. ผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะว่าทำไมพอเอา 550 + 764 มาเฉลี่ยแล้วเป็น 723 น่ะถ้าคิดแบบถัวเฉลี่ยจริงก็คงได้ตามสมการ 20% ของ 550 + 80% ของ 764
ผมสนใจไปที่เลข 16.XX ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี กับตัวเลข 18.XX ของครัวเรือน
เลข 16.XX นั้นเป็นเลขที่ภาคปิโตรเคมีจ่ายให้แก่โรงแยกก๊าซ
ขณะที่เลข 18.XX ที่เป็นของภาคครัวเรือนนั้นต้องไปดูเพิ่มที่โครงสร้างราคา LPG ดังตาราง http://www.eppo.go.th/petro/price/pt-price-st-2013-08-23.xls
จะเห็นว่าราคาหน้าโรงแยกเมื่อนำมาเปรียบเทียบกันนั้นพบว่าปิโตรเคมี (ซื้ออยู่ที่ 16.XX) แพงกว่าที่ภาคครัวเรือน (รวมถึงภาคอื่นๆ ซื้ออยู่ที่ 10.XX) เท่ากับ 6.XX บาทต่อกิโลกรัม
แต่สาเหตุที่ราคาขายปลีกของภาคครัวเรือน ขนส่ง และอุตสาหกรรม แพงกว่าของภาคปิโตรเคมีนั้นก็เพราะมีการเก็บภาษี เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง และค่าการตลาด นั่นเอง
อันนี้คือข้อเท็จจริง (บางส่วน) ที่ผมอยากนำเสนอ ส่วนที่ว่าทำไมภาคอื่นต้องจ่ายเงินเข้ากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ขณะที่ภาคปิโตรไม่ต้องจ่าย (จริงๆจ่าย 1 บาทต่อกิโลกรัม) ถ้าให้ผมตอบแบบกำปั้นทุบดินก็เพราะ "ไม่ได้เอาไปใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิง" แต่จริงๆมันมีเหตุผลมากกว่านั้น ซึ่งยังไม่ขอกล่าวถึงในที่นี้แล้วกัน
สุดท้ายก่อนจากกันฝากภาพนี้ไว้ครับ
ฝากอีกรูปครับ