Ref.: นี่ บ้านเมืองเราเป็นอะไรไป โดย คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ... มติชนออนไลน์
http://ppantip.com/topic/30702174
นางประพันธ์ศิริ สุเสารัจ กรรมการที่ประชุมคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย
กลุ่ม 16 สถาบันเก่าแก่ เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
แห่งประเทศไทย (กลุ่ม 16 สถาบันเก่าแก่) ได้จัดเสวนา หลักสูตรใหม่ : วิกฤตหรือโอกาส โดยมี
นักวิชาการเข้าร่วม อาทิ นายพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ อดีตคณบดีคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายสุรวาท ทองบุ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
(มรม.) ในฐานะประธานสภาคณบดีครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย (ส.ค.ศ.ท.) เป็นต้น โดย
ในการเสวนา มีการสอบถามความเห็นเกี่ยวกับการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่ง 99% มี
ความเห็นร่วมกันว่า ควรชะลอการปรับหลักสูตรครั้งนี้ไปก่อนอย่างน้อย 2-3 ปี เพื่อให้การดำเนินการ
เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เกี่ยวข้องในการจัดการการศึกษาและผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการศึกษา
นางประพันธ์ศิริกล่าวต่อว่า ขณะเดียวกันคณะกรรมการที่จะพัฒนาหลักสูตร ควรมาจากผู้ที่มีส่วนรับ
ผิดชอบตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ได้แก่ ผู้แทนจากนักวิชาการด้านหลักสูตร/ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านเนื้อหาที่มาจากคณะครุศาสตร์/คณะศึกษาศาสตร์ หน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษา, ผู้แทน
จากกลุ่มผู้เรียน, ผู้แทนจากกลุ่มผู้ใช้บัณฑิต, ผู้แทนจากกลุ่มผู้ปกครอง, ผู้แทนจากองค์กรวิชาชีพ/
สมาคมที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ทั้งนี้ ควรวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรค ตลอดจนวิจัยเพื่อประเมินผล
การใช้หลักสูตรทั้งระบบให้เห็นชัดเจนว่า ปัญหาเกิดจากสาเหตุอะไร เช่น จำนวนกลุ่มสาระการเรียนรู้
เนื้อหาการเรียนการสอน วิธีการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอน นักเรียน หรือผลการเรียนรู้ที่ตกต่ำ
ว่าแท้จริงแล้วมาจากหลักสูตรจริงหรือไม่ เป็นต้น
การปรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อ พ.ศ.2551 ใช้เวลาในการวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย
และผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องจนตกผลึกมาถึง 6 ปี แต่ครั้งนี้ยังไม่มีการวิเคราะห์ และ
ที่สำคัญเป็นการปรับหลักสูตรของคนกลุ่มเล็กๆ เพียง 5-6 คนในเวลาเพียง 6 เดือนเท่านั้น ถือว่าเร่งรีบ
เกินไป ดังนั้น ทางกลุ่มครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ เห็นว่า ศธ.ควรชะลอเรื่องนี้ไปก่อน โดยคณบดี
คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย กลุ่ม 16 สถาบันเก่าแก่ และ ส.ค.ศ.ท.จะเสนอเรื่องดังกล่าว
ให้นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) พิจารณา นางประพันธ์ศิริกล่าว
นางประพันธ์ศิริกล่าวต่อว่า สาเหตุที่คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ มีความเห็นดังกลาว เพราะการปรับ
หลักสูตร ควรมีการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรองรับกระบวนการนำหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิผล
และประสิทธิภาพ โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงในเชิงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการนำหลักสูตรใหม่ไปใช้ เช่น มิติ
ผู้ผลิตที่ต้องพัฒนา/การปรับปรุงหลักสูตรในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาชีพครูจะต้องทันต่อการใช้
หลักสูตรใหม่ การพัฒนาคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรใหม่ การพัฒนานวัตกรรม
ทางการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรใหม่ เป็นต้น ส่วนผู้ใช้ อาทิ ครู ที่ต้องเตรียมการจัดทำ
แบบเรียน/ตำราเรียนให้แล้วเสร็จก่อนใช้หลักสูตรใหม่, การเตรียมความพร้อมในการสร้างความรู้ความ
เข้าใจหลักสูตรใหม่ เนื่องจากเป็นปัญหาเบื้องต้นในการนำหลักสูตรใหม่ไปใช้ในสถานศึกษา, การจัดทำ
คู่มือการนำหลักสูตรใหม่สู่การปฏิบัติ, การพัฒนาผู้บริหาร/ครู/บุคลากรทางการศึกษาให้สามารถนำ
หลักสูตรใหม่ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผล และ มิติผู้รับผลกระทบ เช่น นักเรียน
ผู้ปกครอง นิสิต/นักศึกษา ที่ควรพิจารณา เช่น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักเรียน วิธีการจัดการเรียน
การสอนของนิสิต/นักศึกษาเพื่อให้สามารถฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้อย่างมีประสิทธิผลและสอดคล้อง
กับหลักสูตรใหม่ เป็นต้น
(ที่มา:มตืชนรายวัน 8 ก.ค.2556)
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1373283710&grpid=&catid=19&subcatid=1903
ขอเอา กระทู้ บทความคุณหญิงสุริยา...เมื่อวานมาอ้างอิงหน่อย จะได้
คุยต่อได้ เป็นคนละเรื่องเดียวกันค่ะ
แล้วเมื่อไหร เราจะพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรได้
วิเคราะห์มาแล้ 6 ปี จะใช้เวลาอีกกี่ปี เพื่อปรับปรุงร่างหลักสูตรใหม่
เหมือนการทำงานที่ไม่มีกรอบเวลา ไม่ใช่การบริหารจุดการสมัยใหม่
กว่าถัวจะสุก งาก็ไหม้
คิดว่า วันนี้ ทั้งถั่วทั้งงา ไหม้ไปหมดแล้ว .... เหนื่อยแทน คุณจาตุรนต์ ไหม ?
16คณะครุฯจี้"อ๋อย"ชะลอรื้อหลักสูตร ซัด"รีบร้อนเกิน-ขาดการมีส่วนร่วม" ..... ข่าวมติชนออนไลน์
http://ppantip.com/topic/30702174
นางประพันธ์ศิริ สุเสารัจ กรรมการที่ประชุมคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย
กลุ่ม 16 สถาบันเก่าแก่ เปิดเผยว่า เมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
แห่งประเทศไทย (กลุ่ม 16 สถาบันเก่าแก่) ได้จัดเสวนา หลักสูตรใหม่ : วิกฤตหรือโอกาส โดยมี
นักวิชาการเข้าร่วม อาทิ นายพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ อดีตคณบดีคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายสุรวาท ทองบุ คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
(มรม.) ในฐานะประธานสภาคณบดีครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย (ส.ค.ศ.ท.) เป็นต้น โดย
ในการเสวนา มีการสอบถามความเห็นเกี่ยวกับการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่ง 99% มี
ความเห็นร่วมกันว่า ควรชะลอการปรับหลักสูตรครั้งนี้ไปก่อนอย่างน้อย 2-3 ปี เพื่อให้การดำเนินการ
เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เกี่ยวข้องในการจัดการการศึกษาและผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการศึกษา
นางประพันธ์ศิริกล่าวต่อว่า ขณะเดียวกันคณะกรรมการที่จะพัฒนาหลักสูตร ควรมาจากผู้ที่มีส่วนรับ
ผิดชอบตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ได้แก่ ผู้แทนจากนักวิชาการด้านหลักสูตร/ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านเนื้อหาที่มาจากคณะครุศาสตร์/คณะศึกษาศาสตร์ หน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษา, ผู้แทน
จากกลุ่มผู้เรียน, ผู้แทนจากกลุ่มผู้ใช้บัณฑิต, ผู้แทนจากกลุ่มผู้ปกครอง, ผู้แทนจากองค์กรวิชาชีพ/
สมาคมที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ทั้งนี้ ควรวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรค ตลอดจนวิจัยเพื่อประเมินผล
การใช้หลักสูตรทั้งระบบให้เห็นชัดเจนว่า ปัญหาเกิดจากสาเหตุอะไร เช่น จำนวนกลุ่มสาระการเรียนรู้
เนื้อหาการเรียนการสอน วิธีการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอน นักเรียน หรือผลการเรียนรู้ที่ตกต่ำ
ว่าแท้จริงแล้วมาจากหลักสูตรจริงหรือไม่ เป็นต้น
การปรับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเมื่อ พ.ศ.2551 ใช้เวลาในการวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย
และผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องจนตกผลึกมาถึง 6 ปี แต่ครั้งนี้ยังไม่มีการวิเคราะห์ และ
ที่สำคัญเป็นการปรับหลักสูตรของคนกลุ่มเล็กๆ เพียง 5-6 คนในเวลาเพียง 6 เดือนเท่านั้น ถือว่าเร่งรีบ
เกินไป ดังนั้น ทางกลุ่มครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ เห็นว่า ศธ.ควรชะลอเรื่องนี้ไปก่อน โดยคณบดี
คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย กลุ่ม 16 สถาบันเก่าแก่ และ ส.ค.ศ.ท.จะเสนอเรื่องดังกล่าว
ให้นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) พิจารณา นางประพันธ์ศิริกล่าว
นางประพันธ์ศิริกล่าวต่อว่า สาเหตุที่คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ มีความเห็นดังกลาว เพราะการปรับ
หลักสูตร ควรมีการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรองรับกระบวนการนำหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิผล
และประสิทธิภาพ โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงในเชิงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการนำหลักสูตรใหม่ไปใช้ เช่น มิติ
ผู้ผลิตที่ต้องพัฒนา/การปรับปรุงหลักสูตรในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาชีพครูจะต้องทันต่อการใช้
หลักสูตรใหม่ การพัฒนาคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรใหม่ การพัฒนานวัตกรรม
ทางการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรใหม่ เป็นต้น ส่วนผู้ใช้ อาทิ ครู ที่ต้องเตรียมการจัดทำ
แบบเรียน/ตำราเรียนให้แล้วเสร็จก่อนใช้หลักสูตรใหม่, การเตรียมความพร้อมในการสร้างความรู้ความ
เข้าใจหลักสูตรใหม่ เนื่องจากเป็นปัญหาเบื้องต้นในการนำหลักสูตรใหม่ไปใช้ในสถานศึกษา, การจัดทำ
คู่มือการนำหลักสูตรใหม่สู่การปฏิบัติ, การพัฒนาผู้บริหาร/ครู/บุคลากรทางการศึกษาให้สามารถนำ
หลักสูตรใหม่ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผล และ มิติผู้รับผลกระทบ เช่น นักเรียน
ผู้ปกครอง นิสิต/นักศึกษา ที่ควรพิจารณา เช่น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักเรียน วิธีการจัดการเรียน
การสอนของนิสิต/นักศึกษาเพื่อให้สามารถฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้อย่างมีประสิทธิผลและสอดคล้อง
กับหลักสูตรใหม่ เป็นต้น
(ที่มา:มตืชนรายวัน 8 ก.ค.2556)
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1373283710&grpid=&catid=19&subcatid=1903
ขอเอา กระทู้ บทความคุณหญิงสุริยา...เมื่อวานมาอ้างอิงหน่อย จะได้
คุยต่อได้ เป็นคนละเรื่องเดียวกันค่ะ
แล้วเมื่อไหร เราจะพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรได้
วิเคราะห์มาแล้ 6 ปี จะใช้เวลาอีกกี่ปี เพื่อปรับปรุงร่างหลักสูตรใหม่
เหมือนการทำงานที่ไม่มีกรอบเวลา ไม่ใช่การบริหารจุดการสมัยใหม่
กว่าถัวจะสุก งาก็ไหม้
คิดว่า วันนี้ ทั้งถั่วทั้งงา ไหม้ไปหมดแล้ว .... เหนื่อยแทน คุณจาตุรนต์ ไหม ?