จากกระทู้
http://ppantip.com/topic/30405792
คห. 1-1
เอาง่าย ๆ นะครับคุณศร
คำวินิจฉัย หรือ คำพิพากษา (คำพิพากษา และ คำวินิจฉัย)
คือสิ่งเดียวกัน
การวินิจฉัย ศาลต้องวินิจฉัยในกรอบของกฎหมาย จะไปวินิจฉัยตาม "ความคิด ความเห็น" แบบไม่มีกฎหมายรองรับไม่ได้
ประเด็นก็คือ การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญนั้น ศาลรัฐธรรมนูญใช้หลักกฎหมายข้อไหนรองรับ
รัฐธรรมนูญบอกว่า หนังสือที่มีผลทำให้เปลี่ยนแปลงอาณาเขตต้องผ่านสภาฯ
แล้วศาลไปวินิจฉัยว่า หนังสือของนายนพดล
"อาจ" มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ
จึงต้องผ่านสภาฯ เมื่อไม่ผ่านสภาฯ ก็แปลว่านายนพดลทำผิดรัฐธรรมนูญ
แล้วมันรัฐธรรมนูญฉบับไหน ?
รัฐธรรมนูญบอกว่า ถ้ามีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอาณาเขต ต้องผ่านสภาฯ
รัฐธรรมนูญไม่ได้บอกว่า ถ้า "อาจ" มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต้องผ่านสภาฯ
วินิจฉัยแบบนี้ จำเลยตายหยั่งเขียดครับ เพราะศาลจะ
"อาจ" ยังงั้นยังงี้เมื่อไรก็ได้
ผิดก็บอกว่า อาจไม่ผิด ไม่ผิดก็บอกว่า อาจจะผิด
กฎหมายแบบไหนครับนี่
เมื่อรัฐธรรมนูญมาตรา 190 มีบทบัญญัติชัดเจน ศาลรัฐธรรมนูญก็ต้องวินิจฉัยอย่างชัดเจน
ชัดเจนว่าแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชานั้น มีผลทำให้อาณาเขตประเทศไทยเปลี่ยนแปลงหรือไม่
ไม่ใช่มาวินิจฉัยแบบหัวหมอ (เหมือนไม่ใช่ศาล) ว่า
"อาจ"
การจะลงโทษว่าบุคคลใดกระทำผิด การกระทำผิดนั้นต้องผิดตามบทบัญญัติของกฎหมาย
เมื่อไม่ผิดตามตัวบทกฎหมายก็ต้องไม่ผิด ไม่ใช่มาใช้คำว่า
"อาจ" เพื่อเอาผิด
คดีบางคดี เช่นคดีสัพเพเหระ คดีเล็ก ๆ น้อย ๆ กฎหมายให้อำนาจวินิจฉัยของศาลไว้
อย่างการทำประโยชน์ต่อสาธารณะเพื่อให้จำเลยเกิดสำนึกและเป็นการไถ่โทษต่อสาธารณะ
แต่อย่าเอามาปนกับตัวบทของรัฐธรรมนูญ
มันคนละเรื่อง คนละทีป
อ่อ อยากโพสต์นำเสนออะไรมาก็ทำเลยครับ ไม่ต้องห่วงว่าผมจะไม่เข้าใจ
อย่าจับแพะชนแกะเพียงเพื่อทำอวดว่ามีภูมรู้ก็พอ
เฮ้อออ....
เหมือนรู้นะ เหมือนเข้าใจนะ เหมือนมีหลักคิดนะ แต่ความจริงแล้ว ไม่มีอะไรเลย มั่วล้วน ๆ เหมียนเดิม
คห. 1-1
เอาง่าย ๆ นะครับคุณศร
คำวินิจฉัย หรือ คำพิพากษา (คำพิพากษา และ คำวินิจฉัย)
คือสิ่งเดียวกัน
การวินิจฉัย ศาลต้องวินิจฉัยในกรอบของกฎหมาย จะไปวินิจฉัยตาม "ความคิด ความเห็น" แบบไม่มีกฎหมายรองรับไม่ได้
ประเด็นก็คือ การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญนั้น ศาลรัฐธรรมนูญใช้หลักกฎหมายข้อไหนรองรับ
รัฐธรรมนูญบอกว่า หนังสือที่มีผลทำให้เปลี่ยนแปลงอาณาเขตต้องผ่านสภาฯ
แล้วศาลไปวินิจฉัยว่า หนังสือของนายนพดล "อาจ" มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตของประเทศ
จึงต้องผ่านสภาฯ เมื่อไม่ผ่านสภาฯ ก็แปลว่านายนพดลทำผิดรัฐธรรมนูญ
แล้วมันรัฐธรรมนูญฉบับไหน ?
รัฐธรรมนูญบอกว่า ถ้ามีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอาณาเขต ต้องผ่านสภาฯ
รัฐธรรมนูญไม่ได้บอกว่า ถ้า "อาจ" มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต้องผ่านสภาฯ
วินิจฉัยแบบนี้ จำเลยตายหยั่งเขียดครับ เพราะศาลจะ "อาจ" ยังงั้นยังงี้เมื่อไรก็ได้
ผิดก็บอกว่า อาจไม่ผิด ไม่ผิดก็บอกว่า อาจจะผิด
กฎหมายแบบไหนครับนี่
เมื่อรัฐธรรมนูญมาตรา 190 มีบทบัญญัติชัดเจน ศาลรัฐธรรมนูญก็ต้องวินิจฉัยอย่างชัดเจน
ชัดเจนว่าแถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชานั้น มีผลทำให้อาณาเขตประเทศไทยเปลี่ยนแปลงหรือไม่
ไม่ใช่มาวินิจฉัยแบบหัวหมอ (เหมือนไม่ใช่ศาล) ว่า "อาจ"
การจะลงโทษว่าบุคคลใดกระทำผิด การกระทำผิดนั้นต้องผิดตามบทบัญญัติของกฎหมาย
เมื่อไม่ผิดตามตัวบทกฎหมายก็ต้องไม่ผิด ไม่ใช่มาใช้คำว่า "อาจ" เพื่อเอาผิด
คดีบางคดี เช่นคดีสัพเพเหระ คดีเล็ก ๆ น้อย ๆ กฎหมายให้อำนาจวินิจฉัยของศาลไว้
อย่างการทำประโยชน์ต่อสาธารณะเพื่อให้จำเลยเกิดสำนึกและเป็นการไถ่โทษต่อสาธารณะ
แต่อย่าเอามาปนกับตัวบทของรัฐธรรมนูญ
มันคนละเรื่อง คนละทีป
อ่อ อยากโพสต์นำเสนออะไรมาก็ทำเลยครับ ไม่ต้องห่วงว่าผมจะไม่เข้าใจ
อย่าจับแพะชนแกะเพียงเพื่อทำอวดว่ามีภูมรู้ก็พอ
เฮ้อออ....