ในบทวิเคราะห์ของโบรคแห่งหนึ่ง อธิบายว่าโบรคจะแนะนำให้นักลงทุน "ซื้อ" "ถือ" "ขาย" หรือ "ซื้อเก็งกำไร" หลักทรัพย์ใดๆ นั้น โบรคจะใช้หลักเกณฑ์ส่วนต่างระหว่าง "มูลค่าเหมาะสม" เทียบกับ "ราคาตลาด" ของหลักทรัพย์นั้น ดังรายละเอียดในตารางนี้
วันที่ 14 ม.ค. 2556
โบรคแห่งนี้วิเคราะห์ราคาเหมาะสมของ PTTEP ด้วยวิธี DCF ได้ราคาเหมาะสมเท่ากับ 177 บาท ราคาตลาดของ PTTEP ในขณะนั้นเท่ากับ 168 บาท มีส่วนต่าง 5.4% โบรคแนะนำให้ "ซื้อ"
วันที่ 15 ม.ค. 2556
โบรคแห่งเดียวกันนี้วิเคราะห์ราคาเหมาะสมของ PTTEP ด้วยวิธี DCF เหมือนเดิม ได้ราคาเหมาะสม 177 บาท เท่าเดิม ราคาตลาดของ PTTEP ในขณะนั้นเท่ากับ 167.50 บาท มีส่วนต่าง 5.7% โบรคแนะนำให้ "ถือ" เพราะ upside จำกัด
วันที่ 22 ก.พ. 2556
โบรคเจ้าเดิม นักวิเคราะห์คนเดิม วิเคราะห์ราคาเหมาะสมของ PTTEP ด้วยวิธี DCF เหมือนเดิม ได้ราคาเหมาะสม 170 บาท ราคาตลาดของ PTTEP ในขณะนั้นเท่ากับ 157.50 บาท มีส่วนต่าง 7.9% โบรคแนะนำให้ "ขาย" บอกว่า upside จำกัด
บทวิเคราะห์ขำๆ
บทวิเคราะห์ขำๆ ของโบรคแห่งหนึ่ง
วันที่ 14 ม.ค. 2556
โบรคแห่งนี้วิเคราะห์ราคาเหมาะสมของ PTTEP ด้วยวิธี DCF ได้ราคาเหมาะสมเท่ากับ 177 บาท ราคาตลาดของ PTTEP ในขณะนั้นเท่ากับ 168 บาท มีส่วนต่าง 5.4% โบรคแนะนำให้ "ซื้อ"
วันที่ 15 ม.ค. 2556
โบรคแห่งเดียวกันนี้วิเคราะห์ราคาเหมาะสมของ PTTEP ด้วยวิธี DCF เหมือนเดิม ได้ราคาเหมาะสม 177 บาท เท่าเดิม ราคาตลาดของ PTTEP ในขณะนั้นเท่ากับ 167.50 บาท มีส่วนต่าง 5.7% โบรคแนะนำให้ "ถือ" เพราะ upside จำกัด
วันที่ 22 ก.พ. 2556
โบรคเจ้าเดิม นักวิเคราะห์คนเดิม วิเคราะห์ราคาเหมาะสมของ PTTEP ด้วยวิธี DCF เหมือนเดิม ได้ราคาเหมาะสม 170 บาท ราคาตลาดของ PTTEP ในขณะนั้นเท่ากับ 157.50 บาท มีส่วนต่าง 7.9% โบรคแนะนำให้ "ขาย" บอกว่า upside จำกัด
บทวิเคราะห์ขำๆ