ทำไมบรูไนจึงแยกตัวออกจากมาเลเซีย?????
เมื่อที่สุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดินที่3 แห่งบรูไน
ประกาศว่าบรูไนไม่รับช่วยเหลือรวมเป็นหนึ่งเดียวกับมาเลเซีย
ทำให้ต่วนกูอับดุลเราะห์มานได้พยายามใช้ความกดดันมากมายแก่บรูไน
ด้วยการเรียกคืนครู ผู้รู้เป็นร้อย ๆ และเจ้าหน้าที่แผ่นดินมลายูซึ่งอยู่ในบรูไน
สิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุให้บรูไนในขณะนั้นพบกับปัญหาการบริหาร
แต่ทว่าสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดินที่ 3 แห่งบรูไน ยังคงดำรงอยู่
ในระหว่างนั้นสุลต่านบรูไนไม่เป็นที่ยอมรับ
ซึ่งในเวลานั้นมีการปรึกษาหารือกับรัฐบาลกลางแผ่นดินมลายู
ได้มีการแต่งตั้งสุลต่านบรูไนให้อยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในสภากษัตริย์มลายู
หมายเหตุ
ยังดี เปอร์ตวน อากง (มาเลย์: Yang di-Pertuan Agong) ในภาษามลายู หมายถึง ผู้ปกครองสูงสุด
เป็นตำแหน่งอย่างเป็นทางการของประมุขแห่งรัฐของสหพันธรัฐมาเลเซีย
พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
โดยมาจากเจ้าผู้ครองรัฐทั้ง 9 รัฐ บนคาบสมุทรมาเลย์ จากทั้งหมด 13 รัฐของมาเลเซีย
ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี และหมุนเวียนกันไปตามลำดับ
พระอัครชายาใน ยังดี เปอร์ตวน อากง มีตำแหน่งเรียกว่า รายา ประไหมสุหรี อากง
บางรายที่เป็นเจ้าผู้ครองรัฐสิ้นพระชนม์ก่อนได้ครอบครองตำแหน่งนี้
เพราะ 9*5 เท่ากับ 45 ปีและว่างเว้นตำแหน่งกลับมาเป็นใหม่ได้อีก
เนื่องจากมาจากการเลือกตั้งและล๊อบบี้กันภายในส่วนหนึ่ง
ศัพท์แสลงของคนไทยไปเที่ยวมาเลย์ ให้อากงเจรจา คือ การให้สินบนหรือให้เงินกับเจ้าหน้าที่รัฐ
อีกสิ่งหนึ่งที่เป็นส่วนสำคัญและไม่เป็นที่ยอมรับของสุลต่าน
คือ ในแง่ของภาษีส่วนกลางของน้ำมันที่มีมากถึง 10%
ที่ยาวนาน 10ปี หลังจากนั้นส่วนกลางต้องการนำควบคุมน้ำมันจากบรูไน
ข้อขัดแย้งจากความพยายามรวบรวมของมาเลเซีย
คือ เพื่อลดภัยคุกคามของคอมมิวนิสต์
และเพื่อนำสู่การได้รับเอกราชจากอาณานิคมอังกฤษ
ในตอนท้ายมันได้ถูกผลักดันโดยสุลต่าน
บนเหตุที่ไม่ยอมรับเงื่อนไขดังที่ได้กล่าวไปในข้างต้น
ในวันนี้บรูไนได้เข้ามาเป็นหนึ่งในสมาชิกองค์กรสหประชาชาติ และอาเซียน
ซึ่งนั้นหมายความว่าเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับการยอมรับ
ไม่เพียงแต่ในฐานะเพื่อนบ้านของเขาเท่านั้น
อีกทั้งยังได้รับการยอมรับในระดับสากลอีกด้วย
นอกจากนี้คนบรูไน ยังถือว่ามีค่าแรงที่สูง
ราคาน้ำมันต่ำที่สุดและมีสวัสดิการทางด้านการศึกษาฟรีจนถึงระดับอุดมศึกษา
ในช่วงท้ายของปีที่แล้ว รัฐบาลบรูไนได้กล่าวผ่าน
รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานเปิดเผยความรู้สึกผิดหวัง
เพราะประชาชนส่วนใหญ่เลือกทำงานบริษัท
และซัพพลายเออร์อุตสาหกรรมน้ำมัน
รัฐมนตรีได้กล่าวว่า แม้ว่าบรูไนจะยินดีรับการลงทุนจากต่างชาติ
แต่ถ้าหากไม่จริงจังในการโอกาสคนท้องถิ่นได้ทำงาน
บริษัทหล่านั้นก็ไม่จำเป็นต้องอยู่ที่บรูไน
นี่คือคำเตือนเข้มงวดและเปิด ผมเชื่อว่ามี
บริษัทในอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซจะเริ่มให้ความสนใจอย่างจริงจัง
หนึ่งในคำพูดที่ทำให้นึกถึงสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟุดดินที่ 3
ได้
กล่าวเฉกเช่นเดียว
กับลีกวนยูเมื่อสิ่งคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซีย
สุลต่านโอมาร์อาลีได้กล่าวว่า
"คุณเป็นเสมือนคนบรูไน นั่นคือสิ่งที่ดีกว่าสำหรับคุณ"
ประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ผ่านมาแล้วและไม่สามารถแก้ไขได้อีก
แต่อย่างไรก็ตามสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจคือ
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าหากบรูไน
ควรจะรับความช่วยเหลือให้เป็นส่วนหนึ่งกับมาเลเซียหรือไม่?
สมมิฐานของฉัน:
1. บรูไนไม่ใช่เพียงแต่จะถูกเก็บภาษีจากน้ำมันเท่านั้น 95% ของน้ำมันจากบรูไน
ได้ถูกส่งไปที่ส่วนกลาง และเหลือไว้ที่บรูไนเพียง5%
2. รายได้ต่อหัวของประชาชนชาวบรูไนอาจจะเท่ากับชาวซาราวัก
นั่นคือ 30,000 ริงกิต เปรียบเทียบกับปัจจุบันคือ 62,000ริงกิต
หมายเหตุ
รายาเก่ากำลังก่อการกบฎเรียกร้องดินแดนเป็นอิสระ
ญามาลุล กิราม ที่ 3 ผู้อ้างตนเป็นสุลต่านแห่งซูลู
ประกาศคำสั่งให้กลุ่มติดอาวุธฟิลิปปินส์บนเกาะบอร์เนียว รัฐซาบาห์
หยุดยิงแล้ว วันนี้(7) พร้อมทั้งเรียกร้องให้รัฐบาลมาเลเซียยุติการล่าสังหารคนของตนด้วย
3. คนบรูไนจะซื้อน้ำมันในราคาที่แพงกว่าปัจจุบัน
4. คนบรูไนที่ต้องการไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
ต้องยืมเงินจาก PTPTNนั่นเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดดอกเบี้ย
5. คนบรูไนจะได้รับตำแหน่งทางการงานภาคอุตสาหกรรมน้ำมันต่ำกว่าปัจจุบัน
6. ราคารถนำเข้าจะแพง และคนบรูไนจำเป็นต้องซื้อรถProton Perodua.
7. ถนนระหว่างในเมืองที่บรูไนจะเป็นทางเดียว
และมีการจัดสรรผลประโยชน์ของเครือข่ายเหมือนซาราวัก ที่ถนนแคบและบาง
ขอให้พระเจ้าอวยพรวิญญาณสุลต่านโอมาร์อาลี Saifuddin III
และสถานที่ของเขาในหมู่ผู้ศรัทธา อามีนนนนนนนนนนน
ขอขอบคุณ Just Sharingสำหรับข้อมูล ที่นำมาแปล
ที่มา link ย่อ facebook
http://goo.gl/t9UKG
ขอบคุณภาพข่าวจาก
http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9560000028390
ทำไมบรูไนไม่ยอมรวมชาติกับมลายู
เมื่อที่สุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดินที่3 แห่งบรูไน
ประกาศว่าบรูไนไม่รับช่วยเหลือรวมเป็นหนึ่งเดียวกับมาเลเซีย
ทำให้ต่วนกูอับดุลเราะห์มานได้พยายามใช้ความกดดันมากมายแก่บรูไน
ด้วยการเรียกคืนครู ผู้รู้เป็นร้อย ๆ และเจ้าหน้าที่แผ่นดินมลายูซึ่งอยู่ในบรูไน
สิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุให้บรูไนในขณะนั้นพบกับปัญหาการบริหาร
แต่ทว่าสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดินที่ 3 แห่งบรูไน ยังคงดำรงอยู่
ในระหว่างนั้นสุลต่านบรูไนไม่เป็นที่ยอมรับ
ซึ่งในเวลานั้นมีการปรึกษาหารือกับรัฐบาลกลางแผ่นดินมลายู
ได้มีการแต่งตั้งสุลต่านบรูไนให้อยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในสภากษัตริย์มลายู
หมายเหตุ
ยังดี เปอร์ตวน อากง (มาเลย์: Yang di-Pertuan Agong) ในภาษามลายู หมายถึง ผู้ปกครองสูงสุด
เป็นตำแหน่งอย่างเป็นทางการของประมุขแห่งรัฐของสหพันธรัฐมาเลเซีย
พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
โดยมาจากเจ้าผู้ครองรัฐทั้ง 9 รัฐ บนคาบสมุทรมาเลย์ จากทั้งหมด 13 รัฐของมาเลเซีย
ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี และหมุนเวียนกันไปตามลำดับ
พระอัครชายาใน ยังดี เปอร์ตวน อากง มีตำแหน่งเรียกว่า รายา ประไหมสุหรี อากง
บางรายที่เป็นเจ้าผู้ครองรัฐสิ้นพระชนม์ก่อนได้ครอบครองตำแหน่งนี้
เพราะ 9*5 เท่ากับ 45 ปีและว่างเว้นตำแหน่งกลับมาเป็นใหม่ได้อีก
เนื่องจากมาจากการเลือกตั้งและล๊อบบี้กันภายในส่วนหนึ่ง
ศัพท์แสลงของคนไทยไปเที่ยวมาเลย์ ให้อากงเจรจา คือ การให้สินบนหรือให้เงินกับเจ้าหน้าที่รัฐ
อีกสิ่งหนึ่งที่เป็นส่วนสำคัญและไม่เป็นที่ยอมรับของสุลต่าน
คือ ในแง่ของภาษีส่วนกลางของน้ำมันที่มีมากถึง 10%
ที่ยาวนาน 10ปี หลังจากนั้นส่วนกลางต้องการนำควบคุมน้ำมันจากบรูไน
ข้อขัดแย้งจากความพยายามรวบรวมของมาเลเซีย
คือ เพื่อลดภัยคุกคามของคอมมิวนิสต์
และเพื่อนำสู่การได้รับเอกราชจากอาณานิคมอังกฤษ
ในตอนท้ายมันได้ถูกผลักดันโดยสุลต่าน
บนเหตุที่ไม่ยอมรับเงื่อนไขดังที่ได้กล่าวไปในข้างต้น
ในวันนี้บรูไนได้เข้ามาเป็นหนึ่งในสมาชิกองค์กรสหประชาชาติ และอาเซียน
ซึ่งนั้นหมายความว่าเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับการยอมรับ
ไม่เพียงแต่ในฐานะเพื่อนบ้านของเขาเท่านั้น
อีกทั้งยังได้รับการยอมรับในระดับสากลอีกด้วย
นอกจากนี้คนบรูไน ยังถือว่ามีค่าแรงที่สูง
ราคาน้ำมันต่ำที่สุดและมีสวัสดิการทางด้านการศึกษาฟรีจนถึงระดับอุดมศึกษา
ในช่วงท้ายของปีที่แล้ว รัฐบาลบรูไนได้กล่าวผ่าน
รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานเปิดเผยความรู้สึกผิดหวัง
เพราะประชาชนส่วนใหญ่เลือกทำงานบริษัท
และซัพพลายเออร์อุตสาหกรรมน้ำมัน
รัฐมนตรีได้กล่าวว่า แม้ว่าบรูไนจะยินดีรับการลงทุนจากต่างชาติ
แต่ถ้าหากไม่จริงจังในการโอกาสคนท้องถิ่นได้ทำงาน
บริษัทหล่านั้นก็ไม่จำเป็นต้องอยู่ที่บรูไน
นี่คือคำเตือนเข้มงวดและเปิด ผมเชื่อว่ามี
บริษัทในอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซจะเริ่มให้ความสนใจอย่างจริงจัง
หนึ่งในคำพูดที่ทำให้นึกถึงสุลต่าน โอมาร์ อาลี ไซฟุดดินที่ 3
ได้กล่าวเฉกเช่นเดียวกับลีกวนยูเมื่อสิ่งคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซีย
สุลต่านโอมาร์อาลีได้กล่าวว่า "คุณเป็นเสมือนคนบรูไน นั่นคือสิ่งที่ดีกว่าสำหรับคุณ"
ประวัติศาสตร์เป็นสิ่งที่ผ่านมาแล้วและไม่สามารถแก้ไขได้อีก
แต่อย่างไรก็ตามสิ่งหนึ่งที่น่าสนใจคือ
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าหากบรูไน
ควรจะรับความช่วยเหลือให้เป็นส่วนหนึ่งกับมาเลเซียหรือไม่?
สมมิฐานของฉัน:
1. บรูไนไม่ใช่เพียงแต่จะถูกเก็บภาษีจากน้ำมันเท่านั้น 95% ของน้ำมันจากบรูไน
ได้ถูกส่งไปที่ส่วนกลาง และเหลือไว้ที่บรูไนเพียง5%
2. รายได้ต่อหัวของประชาชนชาวบรูไนอาจจะเท่ากับชาวซาราวัก
นั่นคือ 30,000 ริงกิต เปรียบเทียบกับปัจจุบันคือ 62,000ริงกิต
หมายเหตุ
รายาเก่ากำลังก่อการกบฎเรียกร้องดินแดนเป็นอิสระ
ญามาลุล กิราม ที่ 3 ผู้อ้างตนเป็นสุลต่านแห่งซูลู
ประกาศคำสั่งให้กลุ่มติดอาวุธฟิลิปปินส์บนเกาะบอร์เนียว รัฐซาบาห์
หยุดยิงแล้ว วันนี้(7) พร้อมทั้งเรียกร้องให้รัฐบาลมาเลเซียยุติการล่าสังหารคนของตนด้วย
3. คนบรูไนจะซื้อน้ำมันในราคาที่แพงกว่าปัจจุบัน
4. คนบรูไนที่ต้องการไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
ต้องยืมเงินจาก PTPTNนั่นเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดดอกเบี้ย
5. คนบรูไนจะได้รับตำแหน่งทางการงานภาคอุตสาหกรรมน้ำมันต่ำกว่าปัจจุบัน
6. ราคารถนำเข้าจะแพง และคนบรูไนจำเป็นต้องซื้อรถProton Perodua.
7. ถนนระหว่างในเมืองที่บรูไนจะเป็นทางเดียว
และมีการจัดสรรผลประโยชน์ของเครือข่ายเหมือนซาราวัก ที่ถนนแคบและบาง
ขอให้พระเจ้าอวยพรวิญญาณสุลต่านโอมาร์อาลี Saifuddin III
และสถานที่ของเขาในหมู่ผู้ศรัทธา อามีนนนนนนนนนนน
ขอขอบคุณ Just Sharingสำหรับข้อมูล ที่นำมาแปล
ที่มา link ย่อ facebook http://goo.gl/t9UKG
ขอบคุณภาพข่าวจาก http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9560000028390