CAT กริ๊ด!! กสทช. ยอมแพ้ให้ CAT บริหารลูกค้า 17 ล้านเบอร์ ในคลื่นเดิม1ปีหลัง//CATเดินหน้าปรับแต่งคลื่นDTACเพิ่มเติมและมองเรื่องกม.
ประเด็นหลัก
ยังว่าจ้างสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) เป็นผู้ร่างหลักเกณฑ์เงื่อนไขประมูลคลื่น 1800 โดยไอทียูจะเป็นผู้ศึกษาและคิดราคามูลค่าคลื่นความถี่จริง จากจำนวนที่ได้รับคืน 25 เมกะเฮิรตซ์แบ่งเป็นทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 12.5 เมกะเฮิรตซ์ อีกทั้ง ยังเป็นผู้กำหนดราคากลาง ราคาเริ่มต้นประมูลด้วย และวิธีการประมูล
"ไอทียูกับเราจะทำงานคู่ขนานกันไปซึ่งแนวทางออกใบอนุญาตอาจประมูล 20 เมกะเฮิรตซ์ก่อน เพราะอีก 5 เมกะเฮิรตซ์จะเป็นของทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 2.5 เมกะเฮิรตซ์ ดังนั้นไม่สามารถประมูลได้ แต่จะเก็บไว้ประมูลพร้อมกันกับคลื่น 1800 ของบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) ที่จะหมดสัมปทานในปี 2561"
โดยกรอบเวลาเบื้องต้นประมูลใบอนุญาต 4จี จะมีขึ้นอีก11-12 เดือนต่อจากนี้ ดังนั้น จึงให้บมจ.กสท โทรคมนาคม สามารถบริหารคลื่นความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดได้อีกเพียง 1 ปีเท่านั้น และกำหนดให้มีมาตรการเยียวยาลูกค้าช่วงเปลี่ยนผ่านไว้เพียง 1 ปี และกทค.ไม่สามารถรับคำร้องขอจาก กสท ที่จะขอบริหารคลื่นความถี่ต่อได้
นายสุทธิพล ทวีชัยการ กรรมการกสทช.ด้านกฎหมาย กล่าวว่า หาก กสทช.มีมติให้ กสท กระทำการใดๆ กับคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์นี้ เท่ากับเป็นการกระทำผิดกฎหมายที่กำหนดไว้ในพ.ร.บ.ประกอบกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2544 และเมื่ออำนาจของ กสท สิ้นสุดลง กสท ก็ไม่มีสิทธิบริหารคลื่นนี้ต่อ หรือห้ามไม่ให้นำคลื่น 1800 ไปใช้ในทางอื่นหรือปรับปรุงเทคโนโลยี
On Sept 15, the concessions for True Move, a unit of True Corporation, and Digital Phone Co (DPC), a unit of Advanced Info Service (AIS), will expire under agreements with the state-owned CAT Telecom, using 25 MHz of the 1800-MHz spectrum.
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวภายหลังหารือกับคณะกรรมการ (บอร์ด) กรณีที่สำนักงาน กสทช. ได้ส่งหนังสือด่วนที่สุด เมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2556 เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน ถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ กสท ว่า อยากให้บอร์ด กทค.พิจารณา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ว่า กสท ต้องการดูแลบริหารจัดการ เยียวยาลูกค้า โดยมองว่าควรจะมีทางเลือกให้กับลูกค้า ไม่ใช่บังคับให้ลูกค้าให้ย้ายทั้งหมด เพราะถ้าปิดการให้บริการคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) จะเป็นการย้ายลูกค้าทั้งหมดออกไป เพราะฉะนั้น ที่ประชุมมีความเห็นว่าควรถือครองคลื่นความถี่เอาไว้ แล้วให้ลูกค้าเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะย้ายหรือไม่
"หาก กทค.บังคับเอาคลื่นคืนทั้งหมด ผลกระทบจะกระทบกับลูกค้าโดยตรง โดยที่ลูกค้าไม่มีสิทธิ์ที่จะเลือก โดยสรุปไม่ใช่ว่า กสท จะไม่คืน เพียงแต่ว่าอยากให้พิจารณา พ.ร.บ.กสทช. แต่ก็จะคืนแน่นอน อยากให้คำนึงถึงผลกระทบต่อทุกฝ่าย และอยากให้ทาง กทค.กำหนดเงื่อนไข หรือระยะเวลาในการคืนคลื่นที่ให้ชัดเจน เพราะเป็นอำนาจของ กทค." กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าว
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า กรณีที่ทางคณะอนุกรรมการฯ เสนอความเห็นให้ใช้คลื่นความถี่ของทาง บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ดีแทค ที่ยังว่างอยู่ 25 เมกะเฮิรตซ์ มาใช้ก่อนนั้น มองว่าคงต้องไปดูในรายละเอียดก่อน เพราะคลื่นตรงนั้นจะมีเงื่อนไขที่แตกต่างกัน และต้องไปดูทางด้านวิศวกรรมว่าต้องปรับแต่งอย่างไรบ้าง แล้วจะยุ่งยาก และจะกระทบผู้ใช้บริการอย่างไร คงต้องศึกษากรณีนี้ อีกทั้งยังต้องมองเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย
กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวอีกว่า สุดท้ายลูกค้าทุกฝ่ายจะต้องไม่ได้รับผลกระทบ ทั้งฝั่ง กสท ทรู และบริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ขณะที่ส่วนตัวเชื่อว่าสามารถบริหารจัดการเรื่องดังกล่าวได้แน่นอน เพราะฉะนั้น ทาง กทค.น่าจะเริ่มต้นด้วยการพิจารณาคำขอ และ พ.ร.บ.กสทช. ตามมาตรา 82 83 และ 84 ก่อน ส่วนเรื่องอื่นๆ เป็นเรื่องที่ กสท บริหารจัดการได้.
______________________________
กทค.จ้างไอทียูตีค่าคลื่น1800 ปัด "กสท" อ้างสิทธิขอใช้ต่อ
บอร์ดกทค.เล็งตั้งคณะอนุกรรมการฯ วางกรอบประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์แล้ว จ้าง "ไอทียู" ประเมินมูลค่าคลื่นทั้งหมด 25 เมก จากทรูมูฟ-ดีพีซี
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวภายหลังประชุมบอร์ด วานนี้ (20 ก.พ.) ว่า ที่ประชุมเห็นชอบแนวทางรองรับการเปลี่ยนผ่าน และหมดสัมปทาน 2จี ย่านความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ของบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) ซึ่งประชุมบอร์ดครั้งหน้าจะตั้งคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานรวมเตรียมความพร้อมรองรับคืนคลื่น และจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ดิจิทัล พีซีเอ็น 1800
นอกจากนี้ ยังว่าจ้างสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) เป็นผู้ร่างหลักเกณฑ์เงื่อนไขประมูลคลื่น 1800 โดยไอทียูจะเป็นผู้ศึกษาและคิดราคามูลค่าคลื่นความถี่จริง จากจำนวนที่ได้รับคืน 25 เมกะเฮิรตซ์แบ่งเป็นทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 12.5 เมกะเฮิรตซ์ อีกทั้ง ยังเป็นผู้กำหนดราคากลาง ราคาเริ่มต้นประมูลด้วย และวิธีการประมูล
"ไอทียูกับเราจะทำงานคู่ขนานกันไปซึ่งแนวทางออกใบอนุญาตอาจประมูล 20 เมกะเฮิรตซ์ก่อน เพราะอีก 5 เมกะเฮิรตซ์จะเป็นของทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 2.5 เมกะเฮิรตซ์ ดังนั้นไม่สามารถประมูลได้ แต่จะเก็บไว้ประมูลพร้อมกันกับคลื่น 1800 ของบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) ที่จะหมดสัมปทานในปี 2561"
โดยกรอบเวลาเบื้องต้นประมูลใบอนุญาต 4จี จะมีขึ้นอีก11-12 เดือนต่อจากนี้ ดังนั้น จึงให้บมจ.กสท โทรคมนาคม สามารถบริหารคลื่นความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดได้อีกเพียง 1 ปีเท่านั้น และกำหนดให้มีมาตรการเยียวยาลูกค้าช่วงเปลี่ยนผ่านไว้เพียง 1 ปี และกทค.ไม่สามารถรับคำร้องขอจาก กสท ที่จะขอบริหารคลื่นความถี่ต่อได้
นายสุทธิพล ทวีชัยการ กรรมการกสทช.ด้านกฎหมาย กล่าวว่า หาก กสทช.มีมติให้ กสท กระทำการใดๆ กับคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์นี้ เท่ากับเป็นการกระทำผิดกฎหมายที่กำหนดไว้ในพ.ร.บ.ประกอบกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2544 และเมื่ออำนาจของ กสท สิ้นสุดลง กสท ก็ไม่มีสิทธิบริหารคลื่นนี้ต่อ หรือห้ามไม่ให้นำคลื่น 1800 ไปใช้ในทางอื่นหรือปรับปรุงเทคโนโลยี
ในวันเดียวกัน สำนักงานกสทช.ยังได้รับหนังสือตอบกลับจาก กสท ขอสิทธิการบริหารคลื่นต่อ โดยขอขยายเวลาบริหารคลื่นถึงวันที่ 3 ส.ค.2568 ซึ่ง กสทช.จะทำหนังสือตอบกลับไปว่า ไม่สามารถให้ดำเนินการได้ โดยมาตรการเยียวยาลูกค้า ขณะนี้อยู่ระหว่างหาข้อสรุปจะให้ใครมารับผิดชอบช่วงเปลี่ยนผ่าน โดยกำหนดเวลา1 ปี อาจให้กสท ทรูมูฟ หรือดีพีซีรับผิดชอบลูกค้าที่ยังไม่ย้ายไปยังระบบ
"เราไม่ได้จะปิดระบบ2จีทันทีที่สัมปทานหมด แต่กสท ต้องคืนสิทธิบริหารคลื่นมาให้กสทช และเมื่อประมูล4จีในอนาคตผู้ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตใหม่ต้องรับผิดชอบลูกค้าที่อาจคงค้างอยู่"
ส่วนกรณีที่ กสท เสนอแนวทางใช้คลื่นความถี่ดังกล่าวเพื่อโครงการสมาร์ท ไทยแลนด์ของรัฐบาลนั้น นายสุทธิพล กล่าวว่า กสท คงไม่สามารถทำได้ อย่างไรก็ตาม กสทช.ดำเนินงานสอดคล้องนโยบายรัฐบาลอยู่แล้วในเรื่องยูเอสโอโดยเฉพาะการให้บริการอย่างทั่วถึง
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20130221/491465/%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%84.%E0%B8
%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0
%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7
%E0%B9%88%E0%B8%991800-%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%97-
%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8
%B4%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD.html
_____________________________________________
กสทช.จี้'กสท'ส่งคลื่น 1800 MHz คืน จ้างไอทียูคำนวณก่อนประมูล
บอร์ด กทค.จี้ กสท ส่งคลื่น 1800 MHz หลังสัมปทานสิ้นสุด ก.ย. 56 ด้านบอร์ด กสท ตอกกลับ กทค.ให้พิจารณาเรื่องคืนคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ ตาม พ.ร.บ.กสทช. หวั่นกระทบลูกค้า หลัง กทค.ส่งหนังสือมา...
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) กทค. เมื่อวันที่ 20 ก.พ. ว่า ทางประธานคณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารจัดการ เพื่อรองรับเมื่อสัญญาสัมปทานคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT สิ้นสุด มีมติเห็นชอบให้จัดทำหลักเกณฑ์การประมูล และเงื่อนไขการประมูล ประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภครับทราบ และประเมินมูลค่าคลื่นราคาตั้งต้น
ส่วนด้านกฎหมายที่ต้องศึกษาเพิ่มนั้น ได้มอบหมายให้กลุ่มงานด้านกฎหมายไปดำเนินการ ดังนี้ 1. ประเด็นเลขหมายที่ทางทรูมูฟได้รับการจัดสรรโดยตรงจากทาง กสทช.จะดำเนินการอย่างไร 2.เมื่อสัมปทานสิ้นสุดลง ทาง กสท จะสามารถปรับปรุงคลื่นความถี่ที่มีอยู่ เพื่อจะให้บริการลูกค้าในช่วงเปลี่ยนผ่านได้หรือไม่ 3.การโอนย้ายลูกค้าที่มีอยู่ ตามที่ความสมัครใจ หากมีการย้ายจำนวนมาก จะทำได้หรือไม่ 4.จะจัดสรรคลื่นที่อยู่ภายใต้ กสท อย่างไร ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
"กสท จะต้องคืนคลื่นความถี่กลับมาที่ กสทช. เพื่อให้ กสทช.นำมาจัดสรรใหม่ เพราะ กสท ได้หมดสิทธิ์ในการใช้คลื่นส่วนนี้แล้ว และ กสท เข้าใจผิดเรื่องการคืนคลื่น ว่าหากคืนคลื่นแล้ว ทาง กสทช.จะหยุดให้บริการทั้งหมด ซึ่ง กสทช.มีทางเลือก คือ อาจจะให้ กสท ทรู หรือ ดีพีซี เป็นผู้ให้บริการ ดูแลลูกค้าที่ยังไม่ได้โอนย้าย ในช่วงเปลี่ยนผ่านนี้ไปก่อนประมาณ 1 ปี" ประธาน กทค. กล่าว
อย่างไรก็ตาม คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน เห็นควรให้ประสานความร่วมมือกับทางสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ในการจัดทำหลักเกณฑ์การประมูลคลื่นความถี่ 1800 และประเมินมูลค่าคลื่นความถี่ รวมทั้งราคาตั้งต้นการประมูลฯ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญที่ กทค. และสำนักงาน กสทช.มอบหมายให้ทำงานร่วมกัน
สำหรับลูกค้าคลื่น 1800 MHz ขณะนี้มีผู้ใช้บริการอยู่ประมาณ 17 ล้านราย โดยเป็นสัมปทานของบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด และบริษัท ทรูมูฟ จำกัด ซึ่งจะหมดสัญญาสัมปทานวันที่ 15 ก.ย.2556 เมื่อถึงเวลาที่หมดสัมปทาน ผู้บริโภคจำนวนมากจะได้รับผลกระทบ และอีก 2-3 เดือนข้างหน้า หากเน็ตเวิร์กคลื่น 2.1 GHz เกิดขึ้น จะมีผู้ใช้บริการย้ายไปหรือไม่ ซึ่งยังเป็นตัวเลขที่ยังไม่สามารถประเมินได้
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวภายหลังหารือกับคณะกรรมการ (บอร์ด) กรณีที่สำนักงาน กสทช. ได้ส่งหนังสือด่วนที่สุด เมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2556 เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน ถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ กสท ว่า อยากให้บอร์ด กทค.พิจารณา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ว่า กสท ต้องการดูแลบริหารจัดการ เยียวยาลูกค้า โดยมองว่าควรจะมีทางเลือกให้กับลูกค้า ไม่ใช่บังคับให้ลูกค้าให้ย้ายทั้งหมด เพราะถ้าปิดการให้บริการคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) จะเป็นการย้ายลูกค้าทั้งหมดออกไป เพราะฉะนั้น ที่ประชุมมีความเห็นว่าควรถือครองคลื่นความถี่เอาไว้ แล้วให้ลูกค้าเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะย้ายหรือไม่
"หาก กทค.บังคับเอาคลื่นคืนทั้งหมด ผลกระทบจะกระทบกับลูกค้าโดยตรง โดยที่ลูกค้าไม่มีสิทธิ์ที่จะเลือก โดยสรุปไม่ใช่ว่า กสท จะไม่คืน เพียงแต่ว่าอยากให้พิจารณา พ.ร.บ.กสทช. แต่ก็จะคืนแน่นอน อยากให้คำนึงถึงผลกระทบต่อทุกฝ่าย และอยากให้ทาง กทค.กำหนดเงื่อนไข หรือระยะเวลาใน
CAT กริ๊ด!!กสทช.ยอมแพ้ให้CATบริหารลูกค้า17ล้านเบอร์ในคลื่นเดิม1ปีหลัง//CATเดินหน้าปรับแต่งคลื่นDTACเพิ่มเติมและมองกม.
ประเด็นหลัก
ยังว่าจ้างสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) เป็นผู้ร่างหลักเกณฑ์เงื่อนไขประมูลคลื่น 1800 โดยไอทียูจะเป็นผู้ศึกษาและคิดราคามูลค่าคลื่นความถี่จริง จากจำนวนที่ได้รับคืน 25 เมกะเฮิรตซ์แบ่งเป็นทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 12.5 เมกะเฮิรตซ์ อีกทั้ง ยังเป็นผู้กำหนดราคากลาง ราคาเริ่มต้นประมูลด้วย และวิธีการประมูล
"ไอทียูกับเราจะทำงานคู่ขนานกันไปซึ่งแนวทางออกใบอนุญาตอาจประมูล 20 เมกะเฮิรตซ์ก่อน เพราะอีก 5 เมกะเฮิรตซ์จะเป็นของทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 2.5 เมกะเฮิรตซ์ ดังนั้นไม่สามารถประมูลได้ แต่จะเก็บไว้ประมูลพร้อมกันกับคลื่น 1800 ของบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) ที่จะหมดสัมปทานในปี 2561"
โดยกรอบเวลาเบื้องต้นประมูลใบอนุญาต 4จี จะมีขึ้นอีก11-12 เดือนต่อจากนี้ ดังนั้น จึงให้บมจ.กสท โทรคมนาคม สามารถบริหารคลื่นความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดได้อีกเพียง 1 ปีเท่านั้น และกำหนดให้มีมาตรการเยียวยาลูกค้าช่วงเปลี่ยนผ่านไว้เพียง 1 ปี และกทค.ไม่สามารถรับคำร้องขอจาก กสท ที่จะขอบริหารคลื่นความถี่ต่อได้
นายสุทธิพล ทวีชัยการ กรรมการกสทช.ด้านกฎหมาย กล่าวว่า หาก กสทช.มีมติให้ กสท กระทำการใดๆ กับคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์นี้ เท่ากับเป็นการกระทำผิดกฎหมายที่กำหนดไว้ในพ.ร.บ.ประกอบกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2544 และเมื่ออำนาจของ กสท สิ้นสุดลง กสท ก็ไม่มีสิทธิบริหารคลื่นนี้ต่อ หรือห้ามไม่ให้นำคลื่น 1800 ไปใช้ในทางอื่นหรือปรับปรุงเทคโนโลยี
On Sept 15, the concessions for True Move, a unit of True Corporation, and Digital Phone Co (DPC), a unit of Advanced Info Service (AIS), will expire under agreements with the state-owned CAT Telecom, using 25 MHz of the 1800-MHz spectrum.
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวภายหลังหารือกับคณะกรรมการ (บอร์ด) กรณีที่สำนักงาน กสทช. ได้ส่งหนังสือด่วนที่สุด เมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2556 เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน ถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ กสท ว่า อยากให้บอร์ด กทค.พิจารณา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ว่า กสท ต้องการดูแลบริหารจัดการ เยียวยาลูกค้า โดยมองว่าควรจะมีทางเลือกให้กับลูกค้า ไม่ใช่บังคับให้ลูกค้าให้ย้ายทั้งหมด เพราะถ้าปิดการให้บริการคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) จะเป็นการย้ายลูกค้าทั้งหมดออกไป เพราะฉะนั้น ที่ประชุมมีความเห็นว่าควรถือครองคลื่นความถี่เอาไว้ แล้วให้ลูกค้าเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะย้ายหรือไม่
"หาก กทค.บังคับเอาคลื่นคืนทั้งหมด ผลกระทบจะกระทบกับลูกค้าโดยตรง โดยที่ลูกค้าไม่มีสิทธิ์ที่จะเลือก โดยสรุปไม่ใช่ว่า กสท จะไม่คืน เพียงแต่ว่าอยากให้พิจารณา พ.ร.บ.กสทช. แต่ก็จะคืนแน่นอน อยากให้คำนึงถึงผลกระทบต่อทุกฝ่าย และอยากให้ทาง กทค.กำหนดเงื่อนไข หรือระยะเวลาในการคืนคลื่นที่ให้ชัดเจน เพราะเป็นอำนาจของ กทค." กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าว
นายกิตติศักดิ์ กล่าวต่อว่า กรณีที่ทางคณะอนุกรรมการฯ เสนอความเห็นให้ใช้คลื่นความถี่ของทาง บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ ดีแทค ที่ยังว่างอยู่ 25 เมกะเฮิรตซ์ มาใช้ก่อนนั้น มองว่าคงต้องไปดูในรายละเอียดก่อน เพราะคลื่นตรงนั้นจะมีเงื่อนไขที่แตกต่างกัน และต้องไปดูทางด้านวิศวกรรมว่าต้องปรับแต่งอย่างไรบ้าง แล้วจะยุ่งยาก และจะกระทบผู้ใช้บริการอย่างไร คงต้องศึกษากรณีนี้ อีกทั้งยังต้องมองเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย
กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวอีกว่า สุดท้ายลูกค้าทุกฝ่ายจะต้องไม่ได้รับผลกระทบ ทั้งฝั่ง กสท ทรู และบริษัท ดิจิตอล โฟน จำกัด (ดีพีซี) ขณะที่ส่วนตัวเชื่อว่าสามารถบริหารจัดการเรื่องดังกล่าวได้แน่นอน เพราะฉะนั้น ทาง กทค.น่าจะเริ่มต้นด้วยการพิจารณาคำขอ และ พ.ร.บ.กสทช. ตามมาตรา 82 83 และ 84 ก่อน ส่วนเรื่องอื่นๆ เป็นเรื่องที่ กสท บริหารจัดการได้.
______________________________
กทค.จ้างไอทียูตีค่าคลื่น1800 ปัด "กสท" อ้างสิทธิขอใช้ต่อ
บอร์ดกทค.เล็งตั้งคณะอนุกรรมการฯ วางกรอบประมูลคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์แล้ว จ้าง "ไอทียู" ประเมินมูลค่าคลื่นทั้งหมด 25 เมก จากทรูมูฟ-ดีพีซี
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการวิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวภายหลังประชุมบอร์ด วานนี้ (20 ก.พ.) ว่า ที่ประชุมเห็นชอบแนวทางรองรับการเปลี่ยนผ่าน และหมดสัมปทาน 2จี ย่านความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ของบริษัท ทรูมูฟ จำกัด และบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด (ดีพีซี) ซึ่งประชุมบอร์ดครั้งหน้าจะตั้งคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานรวมเตรียมความพร้อมรองรับคืนคลื่น และจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า ดิจิทัล พีซีเอ็น 1800
นอกจากนี้ ยังว่าจ้างสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) เป็นผู้ร่างหลักเกณฑ์เงื่อนไขประมูลคลื่น 1800 โดยไอทียูจะเป็นผู้ศึกษาและคิดราคามูลค่าคลื่นความถี่จริง จากจำนวนที่ได้รับคืน 25 เมกะเฮิรตซ์แบ่งเป็นทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 12.5 เมกะเฮิรตซ์ อีกทั้ง ยังเป็นผู้กำหนดราคากลาง ราคาเริ่มต้นประมูลด้วย และวิธีการประมูล
"ไอทียูกับเราจะทำงานคู่ขนานกันไปซึ่งแนวทางออกใบอนุญาตอาจประมูล 20 เมกะเฮิรตซ์ก่อน เพราะอีก 5 เมกะเฮิรตซ์จะเป็นของทรูมูฟ และดีพีซีรายละ 2.5 เมกะเฮิรตซ์ ดังนั้นไม่สามารถประมูลได้ แต่จะเก็บไว้ประมูลพร้อมกันกับคลื่น 1800 ของบมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) ที่จะหมดสัมปทานในปี 2561"
โดยกรอบเวลาเบื้องต้นประมูลใบอนุญาต 4จี จะมีขึ้นอีก11-12 เดือนต่อจากนี้ ดังนั้น จึงให้บมจ.กสท โทรคมนาคม สามารถบริหารคลื่นความถี่หลังสัญญาสัมปทานสิ้นสุดได้อีกเพียง 1 ปีเท่านั้น และกำหนดให้มีมาตรการเยียวยาลูกค้าช่วงเปลี่ยนผ่านไว้เพียง 1 ปี และกทค.ไม่สามารถรับคำร้องขอจาก กสท ที่จะขอบริหารคลื่นความถี่ต่อได้
นายสุทธิพล ทวีชัยการ กรรมการกสทช.ด้านกฎหมาย กล่าวว่า หาก กสทช.มีมติให้ กสท กระทำการใดๆ กับคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์นี้ เท่ากับเป็นการกระทำผิดกฎหมายที่กำหนดไว้ในพ.ร.บ.ประกอบกิจการโทรคมนาคมพ.ศ.2544 และเมื่ออำนาจของ กสท สิ้นสุดลง กสท ก็ไม่มีสิทธิบริหารคลื่นนี้ต่อ หรือห้ามไม่ให้นำคลื่น 1800 ไปใช้ในทางอื่นหรือปรับปรุงเทคโนโลยี
ในวันเดียวกัน สำนักงานกสทช.ยังได้รับหนังสือตอบกลับจาก กสท ขอสิทธิการบริหารคลื่นต่อ โดยขอขยายเวลาบริหารคลื่นถึงวันที่ 3 ส.ค.2568 ซึ่ง กสทช.จะทำหนังสือตอบกลับไปว่า ไม่สามารถให้ดำเนินการได้ โดยมาตรการเยียวยาลูกค้า ขณะนี้อยู่ระหว่างหาข้อสรุปจะให้ใครมารับผิดชอบช่วงเปลี่ยนผ่าน โดยกำหนดเวลา1 ปี อาจให้กสท ทรูมูฟ หรือดีพีซีรับผิดชอบลูกค้าที่ยังไม่ย้ายไปยังระบบ
"เราไม่ได้จะปิดระบบ2จีทันทีที่สัมปทานหมด แต่กสท ต้องคืนสิทธิบริหารคลื่นมาให้กสทช และเมื่อประมูล4จีในอนาคตผู้ประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตใหม่ต้องรับผิดชอบลูกค้าที่อาจคงค้างอยู่"
ส่วนกรณีที่ กสท เสนอแนวทางใช้คลื่นความถี่ดังกล่าวเพื่อโครงการสมาร์ท ไทยแลนด์ของรัฐบาลนั้น นายสุทธิพล กล่าวว่า กสท คงไม่สามารถทำได้ อย่างไรก็ตาม กสทช.ดำเนินงานสอดคล้องนโยบายรัฐบาลอยู่แล้วในเรื่องยูเอสโอโดยเฉพาะการให้บริการอย่างทั่วถึง
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/it/20130221/491465/%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%84.%E0%B8
%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0
%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7
%E0%B9%88%E0%B8%991800-%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%94-%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%97-
%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8
%B4%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD.html
_____________________________________________
กสทช.จี้'กสท'ส่งคลื่น 1800 MHz คืน จ้างไอทียูคำนวณก่อนประมูล
บอร์ด กทค.จี้ กสท ส่งคลื่น 1800 MHz หลังสัมปทานสิ้นสุด ก.ย. 56 ด้านบอร์ด กสท ตอกกลับ กทค.ให้พิจารณาเรื่องคืนคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ ตาม พ.ร.บ.กสทช. หวั่นกระทบลูกค้า หลัง กทค.ส่งหนังสือมา...
พ.อ.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.) กล่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการ (บอร์ด) กทค. เมื่อวันที่ 20 ก.พ. ว่า ทางประธานคณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารจัดการ เพื่อรองรับเมื่อสัญญาสัมปทานคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) หรือ CAT สิ้นสุด มีมติเห็นชอบให้จัดทำหลักเกณฑ์การประมูล และเงื่อนไขการประมูล ประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภครับทราบ และประเมินมูลค่าคลื่นราคาตั้งต้น
ส่วนด้านกฎหมายที่ต้องศึกษาเพิ่มนั้น ได้มอบหมายให้กลุ่มงานด้านกฎหมายไปดำเนินการ ดังนี้ 1. ประเด็นเลขหมายที่ทางทรูมูฟได้รับการจัดสรรโดยตรงจากทาง กสทช.จะดำเนินการอย่างไร 2.เมื่อสัมปทานสิ้นสุดลง ทาง กสท จะสามารถปรับปรุงคลื่นความถี่ที่มีอยู่ เพื่อจะให้บริการลูกค้าในช่วงเปลี่ยนผ่านได้หรือไม่ 3.การโอนย้ายลูกค้าที่มีอยู่ ตามที่ความสมัครใจ หากมีการย้ายจำนวนมาก จะทำได้หรือไม่ 4.จะจัดสรรคลื่นที่อยู่ภายใต้ กสท อย่างไร ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
"กสท จะต้องคืนคลื่นความถี่กลับมาที่ กสทช. เพื่อให้ กสทช.นำมาจัดสรรใหม่ เพราะ กสท ได้หมดสิทธิ์ในการใช้คลื่นส่วนนี้แล้ว และ กสท เข้าใจผิดเรื่องการคืนคลื่น ว่าหากคืนคลื่นแล้ว ทาง กสทช.จะหยุดให้บริการทั้งหมด ซึ่ง กสทช.มีทางเลือก คือ อาจจะให้ กสท ทรู หรือ ดีพีซี เป็นผู้ให้บริการ ดูแลลูกค้าที่ยังไม่ได้โอนย้าย ในช่วงเปลี่ยนผ่านนี้ไปก่อนประมาณ 1 ปี" ประธาน กทค. กล่าว
อย่างไรก็ตาม คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน เห็นควรให้ประสานความร่วมมือกับทางสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ในการจัดทำหลักเกณฑ์การประมูลคลื่นความถี่ 1800 และประเมินมูลค่าคลื่นความถี่ รวมทั้งราคาตั้งต้นการประมูลฯ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญที่ กทค. และสำนักงาน กสทช.มอบหมายให้ทำงานร่วมกัน
สำหรับลูกค้าคลื่น 1800 MHz ขณะนี้มีผู้ใช้บริการอยู่ประมาณ 17 ล้านราย โดยเป็นสัมปทานของบริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด และบริษัท ทรูมูฟ จำกัด ซึ่งจะหมดสัญญาสัมปทานวันที่ 15 ก.ย.2556 เมื่อถึงเวลาที่หมดสัมปทาน ผู้บริโภคจำนวนมากจะได้รับผลกระทบ และอีก 2-3 เดือนข้างหน้า หากเน็ตเวิร์กคลื่น 2.1 GHz เกิดขึ้น จะมีผู้ใช้บริการย้ายไปหรือไม่ ซึ่งยังเป็นตัวเลขที่ยังไม่สามารถประเมินได้
นายกิตติศักดิ์ ศรีประเสริฐ กรรมการผู้จัดการใหญ่ กสท กล่าวภายหลังหารือกับคณะกรรมการ (บอร์ด) กรณีที่สำนักงาน กสทช. ได้ส่งหนังสือด่วนที่สุด เมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2556 เรื่องการดำเนินการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน ถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ กสท ว่า อยากให้บอร์ด กทค.พิจารณา พ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่กำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พ.ศ.2553 (พ.ร.บ.กสทช.) ว่า กสท ต้องการดูแลบริหารจัดการ เยียวยาลูกค้า โดยมองว่าควรจะมีทางเลือกให้กับลูกค้า ไม่ใช่บังคับให้ลูกค้าให้ย้ายทั้งหมด เพราะถ้าปิดการให้บริการคลื่น 1800 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) จะเป็นการย้ายลูกค้าทั้งหมดออกไป เพราะฉะนั้น ที่ประชุมมีความเห็นว่าควรถือครองคลื่นความถี่เอาไว้ แล้วให้ลูกค้าเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะย้ายหรือไม่
"หาก กทค.บังคับเอาคลื่นคืนทั้งหมด ผลกระทบจะกระทบกับลูกค้าโดยตรง โดยที่ลูกค้าไม่มีสิทธิ์ที่จะเลือก โดยสรุปไม่ใช่ว่า กสท จะไม่คืน เพียงแต่ว่าอยากให้พิจารณา พ.ร.บ.กสทช. แต่ก็จะคืนแน่นอน อยากให้คำนึงถึงผลกระทบต่อทุกฝ่าย และอยากให้ทาง กทค.กำหนดเงื่อนไข หรือระยะเวลาใน