การศึกษา
- ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จากโรงเรียน Cheam (ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าโรงเรียน) และโรงเรียน Rugby ประเทศอังกฤษ (ดำรงตำแหน่ง หัวหน้า House หรือสี และได้รับทุนการศึกษาเรียนดีเด่น) (พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2513)
- ระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 2) และระดับปริญญาโทจาก Pembroke College มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ (เกียรตินิยม) สาขาวิชาปรัชญาการเมืองและเศรษฐศาสตร์ (PPE) (พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2520)
- ระดับปริญญาโท (ใบที่ 2) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทางด้านสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (พ.ศ. 2521)
การทำงาน
พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2539 - อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 - ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2536 - ผู้อำนวยการสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2532 - ที่ปรึกษาทางด้านนโยบายของนายกรัฐมนตรี (พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ)
พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534 - ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการกิจการรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2536 - นายกสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2537 - ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาการพาณิชย์ฝ่ายต่างประเทศของกระทรวงพาณิชย์
พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2536 - ประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-เวียดนาม เพื่อศึกษาและเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-เวียดนาม และประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-กัมพูชา-ลาว เพื่อศึกษาและเสนอแนะ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-กัมพูชา-ลาว
พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2544 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขตเลือกตั้งที่ 6 (บางรัก สัมพันธวงศ์ สาทร แขวงยานนาวาและแขวงทุ่งมหาเมฆ) พรรคประชาธิปัตย์
พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2543 - รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐบาลนายชวน หลีกภัย
พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2548 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์
พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2551 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในระบบบัญชีระบบสัดส่วน พรรคประชาธิปัตย์ โซน 6 กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และนนทบุรี
11 มกราคม พ.ศ. 2552 - 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ผลงานวิชาการ
รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร มีผลงานวิจัยและบทความเกี่ยวกับความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศมากมาย ซึ่งได้ตีพิมพ์และเผยแพร่ทั้งในและนอกประเทศ อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นต้น อีกทั้งได้มีผลงานทางวิชาการร่วมกับนักวิชาการระดับนานาชาติหลาย คน อาทิ Professor Robert Scalapino
งานเขียนอื่น ๆ : เคยเขียนคอลัมน์ประจำให้แก่ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายสัปดาห์ และ หนังสือพิมพ์แนวหน้า เคยเขียนคอลัมน์รับเชิญให้แก่นิตยสารต่างประเทศหลายฉบับ รวมถึง Far Eastern Economic Review, The International Herald Tribune, The Asian Wall Street Journal
การดำรงตำแหน่งอื่นๆ
- ประธานมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 ถึงปัจจุบัน)
- กรรมการหรือสมาชิกของสถาบันระดับนานาชาติหลายแห่ง รวมถึง THE ASIA SOCIETY แห่งนครนิวยอร์ก และ สถาบันยุทธศาสตร์และนานาชาติศึกษาแห่งกรุงลอนดอน
- กรรมการบริหารของสถาบันพระปกเกล้า (ปี 2544 ถึง ปัจจุบัน)
- อาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาหรือหลักสูตรของหน่วยงานราชการ ต่าง ๆ เช่น กองทัพ กระทรวงมหาดไทย กรมตำรวจ กรุงเทพมหานคร
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยโคลัมเบียแห่งนครนิวยอร์ก และ มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์แห่งกรุงวอชิงตัน ดีซี
- วิทยากรบรรยายพิเศษให้กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยนเรศวร
- สมาชิก Commission For A New Asia (พ.ศ. 2537)
- ผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในกรุงเทพมหานคร
* ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในร้อยผู้นำระดับโลกในศตวรรษที่ 21 โดยนิตยสาร TIME ในปี พ.ศ. 2538 *
ประวัติการศึกษาและการทำงานของ รศ. ม.ร.ว. สุขุมพันธุ์ บริพัตร ที่คนเพื่อไทย (เสื้อแดง) เรียกว่าหม่อมเอ๋อ
- ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จากโรงเรียน Cheam (ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าโรงเรียน) และโรงเรียน Rugby ประเทศอังกฤษ (ดำรงตำแหน่ง หัวหน้า House หรือสี และได้รับทุนการศึกษาเรียนดีเด่น) (พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2513)
- ระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 2) และระดับปริญญาโทจาก Pembroke College มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ (เกียรตินิยม) สาขาวิชาปรัชญาการเมืองและเศรษฐศาสตร์ (PPE) (พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2520)
- ระดับปริญญาโท (ใบที่ 2) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทางด้านสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (พ.ศ. 2521)
การทำงาน
พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2539 - อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 - ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2536 - ผู้อำนวยการสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2532 - ที่ปรึกษาทางด้านนโยบายของนายกรัฐมนตรี (พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ)
พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534 - ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการกิจการรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2536 - นายกสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2537 - ประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาการพาณิชย์ฝ่ายต่างประเทศของกระทรวงพาณิชย์
พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2536 - ประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-เวียดนาม เพื่อศึกษาและเสนอแนะแนวทางส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-เวียดนาม และประธานคณะทำงานร่วมอาเซียน-กัมพูชา-ลาว เพื่อศึกษาและเสนอแนะ แนวทางในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียน-กัมพูชา-ลาว
พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2544 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขตเลือกตั้งที่ 6 (บางรัก สัมพันธวงศ์ สาทร แขวงยานนาวาและแขวงทุ่งมหาเมฆ) พรรคประชาธิปัตย์
พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2543 - รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐบาลนายชวน หลีกภัย
พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2548 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในระบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์
พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2551 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในระบบบัญชีระบบสัดส่วน พรรคประชาธิปัตย์ โซน 6 กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และนนทบุรี
11 มกราคม พ.ศ. 2552 - 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ผลงานวิชาการ
รองศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร มีผลงานวิจัยและบทความเกี่ยวกับความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศมากมาย ซึ่งได้ตีพิมพ์และเผยแพร่ทั้งในและนอกประเทศ อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นต้น อีกทั้งได้มีผลงานทางวิชาการร่วมกับนักวิชาการระดับนานาชาติหลาย คน อาทิ Professor Robert Scalapino
งานเขียนอื่น ๆ : เคยเขียนคอลัมน์ประจำให้แก่ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายสัปดาห์ และ หนังสือพิมพ์แนวหน้า เคยเขียนคอลัมน์รับเชิญให้แก่นิตยสารต่างประเทศหลายฉบับ รวมถึง Far Eastern Economic Review, The International Herald Tribune, The Asian Wall Street Journal
การดำรงตำแหน่งอื่นๆ
- ประธานมูลนิธิจุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 ถึงปัจจุบัน)
- กรรมการหรือสมาชิกของสถาบันระดับนานาชาติหลายแห่ง รวมถึง THE ASIA SOCIETY แห่งนครนิวยอร์ก และ สถาบันยุทธศาสตร์และนานาชาติศึกษาแห่งกรุงลอนดอน
- กรรมการบริหารของสถาบันพระปกเกล้า (ปี 2544 ถึง ปัจจุบัน)
- อาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาหรือหลักสูตรของหน่วยงานราชการ ต่าง ๆ เช่น กองทัพ กระทรวงมหาดไทย กรมตำรวจ กรุงเทพมหานคร
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยโคลัมเบียแห่งนครนิวยอร์ก และ มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์แห่งกรุงวอชิงตัน ดีซี
- วิทยากรบรรยายพิเศษให้กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยนเรศวร
- สมาชิก Commission For A New Asia (พ.ศ. 2537)
- ผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในกรุงเทพมหานคร
* ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในร้อยผู้นำระดับโลกในศตวรรษที่ 21 โดยนิตยสาร TIME ในปี พ.ศ. 2538 *