การแก้ไขปัญหาความยากจน และ การเสียชีวิตของเด็กไทยในอดีต ด้วยการขยายบริการการศึกษา

กระทู้สนทนา
ความยากจน

ปี 2538 มีพลเมืองไทยยากจน 48.7 ล้านคนหรือ ร้อยละ 81.8 ระหว่างปี 2504-2538 ประเทศไทยสูญเสียป่าม้ 88.84 ล้านไร่ ในห้วงเวลา เพียง 34 ปี



สถานการณ์การศึกษา - ก่อนการอภิวัฒน์การศึกษา2538 

1) ปี 2530 กระทรวงศึกษาธิการมีเป้าหมายขยายการศึกษาเป็น 9 ปี ใน 20 ปี



2) ปี 2531นางงามจักรวาลของไทยประกาศให้โลกทราบว่า เด็กไทยนับหมื่นคนยังอดหยาก และ เสียชีวิต

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ




3) ปี 2534 รัฐประหาร  

4) ปี 2534 -2535 กระทรวงศึกษาธิการ ไม่สามารถ ดำเนินการตามเป้าหมายเมื่อปี 2530 ได้ ด้วยเหตุผลรด้านภูมิศาสตร์




5) ปี2535 พฤษภาทมิฬ

6)  ข้อมูลจาก UNESCO ประเทศออสเตรีย ปี 1995 / 2538  ก่อน การอภิวัฒน์การศึกษา2538 ระดับการศึกษาของแรงงานไทย
79.1 % ต่ำกว่าประถม 8.0% มัธยมต้น มัธยมปลาย 3.3% อาชีวะ 3.2% ปริญญาตรี หรือ สูงกว่า 6.4

7) 2538  โรดเมป 150 วัน พบว่า คนไทย 4.35 ล้านคน อายุ 3-17 ปี จากครอบครัวยากจน ไม่มีที่เรียน
12.33 ล้านคนเรียนในโรงเรียน ผุผุพังพัง ครูถูกทอดทิ้ง หลักสูตรโบราณ และ จัดงบประมาณจากส่วนกลางโดยไม่กระจายอำนาจการบริหาร และ งบประมาณ

8) ปี 2538 เดือนธันวาคม

Since December 1995, activities have been conducted in four main areas:
·        School reform. Efforts have been stepped up to standardize the quality of education in all levels and types of schools and educational institutions. Educational coverage has been expanded.
·        Teacher reform. Training and recruitment of teachers have been reformed urgently and comprehensively both in public and private schools. Educational administrators and personnel have been developed continuously.
Curriculum reform. Curriculum and teaching-learning processes have been reformed on an urgent basis in order to raise educational quality of all types and levels.
·        Administrative reform. Through devolution, educational institutions have been empowered to make administrative decisions and to offer appropriate educational services which are as consistent as possible with the local lifestyle and conditions. Provincial organizations have been strengthened to facilitate devolution while private participation of the family and community have been promoted and supported.
https://www.ibe.unesco.org//fileadmin/user_upload/archive/Countries/WDE/2006/ASIA_and_the_PACIFIC/Thailand/Thailand.htm

การอภิวัฒน์การศึกษา 2538 ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล

1) ปี 2538  โรดเมป 150 วัน พบว่า คนไทย 4.35 ล้านคน อายุ 3-17 ปี จากครอบครัวเกษตรกรยากจน ไม่มีที่เรียน ดังนี้คือ:
📌 เด็กอายุ 3-5 ปี (7 แสนคน)📌 เด็กอายุ 6-11 ปี (6.5 แสนคน) 📌 เด็กอายุ 12-14 ปี (1 ล้านคน) 📌 เด็กอายุ 15-17 ปี (2 ล้านคน)
12.33 ล้านคนเรียนในโรงเรียน ผุผุพังพัง ครูถูกทอดทิ้ง หลักสูตรโบราณ และ จัดงบประมาณจากส่วนกลางโดยไม่กระจายอำนาจการบริหาร และ งบประมาณ

2)  ธันวาคม 2538 เริ่มอภิวัฒน์การศึกษาไทย ตามแผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ 2538 : เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยปฏิรูประบบบริหารสถานศึกษา ปฏิรูปสถานศึกษา จัดเตรียม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์(ชลบุรี) เพื่อปฏิรูปครู และ การปฏิรูปหลักสูตรด้วยนวัตกรรม โดยเริ่มจาก การให้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษ และ คอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ประถม 1 ทุกคน ทั่วไทย เพื่อแก้ไข เหลื่อมล้ำ


3) ปี2539 แก้ไขเพิ่มเติม ทรัพยากรมนุษย์ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 เพื่อใช้เป็น เครื่องมืออภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 แต่มีปัญหาการปฏิบัติในพื้นที่

4) คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล คิดกระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8เพราะ การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ซึ่งไม่สำเร็จเกือบ 1 ปี ระหว่าง ธันวาคม 2538 - กันยายน 2539  ภายใต้แผนฯ พัฒนา 7

5) แผนพัฒนาฯ 8  การพัฒนาโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เริ่มใช้จริง 1ตุลาคม 2539 

6) โรดเมป 180 วัน พฤษภาคม 2540  กระทรวงศึกษาธิการ สามารถรับ คนไทยอายุ 3-17 ปีจากครอบครัวยากจนเพิ่มได้ 4.35ล้านคน ซ่อมโรงเรียนผุพังให้ 12.33ล้านคน  โดยทุกคน = 16.68 ล้านคนได้เรียนภาษาอังกฤษ และ คอมพิวเตอร์ ทุกโรงเรียนใช้ระบบ บริหาร SBM คืนครูให้ห้องเรียน และ เริ่มครูคืนถิ่น  กระจายงบประมาณ กระจายอำนาจบริหารการศึกษา  โดยปูพรมโรงเรียนนิติบุคคล เพื่อให้ทุกคนได้รับ อาหาร และ อุปกรณ์ครบครัน

7) เพื่อเด็กไทย 16.68 ล้านคน ได้เรียนฟรีจริงทุกคน เท่าเทียม ทั่วถึง ทั่วไทย
การปรับปรุง สถานศึกษาสำหรับ นักเรียน 12.33ล้านคน ในระบบการศึกษา✅ ปรับปรุงโรงเรียน: 29,845 โรงเรียน ทั่วประเทศ✅ ปรับปรุงอาคารเรียน: 38,112 หลัง เพื่อให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน✅ ปรับปรุงอาคารเอนกประสงค์: 12,227 หลัง รองรับกิจกรรมเสริมการเรียนรู้✅ ปรับปรุงห้องน้ำที่ถูกสุขอนามัย: 11,257 หลัง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของนักเรียน และ ขยายห้องเรียนสำหรับ 4.35  ล้านคน นอกระบบการศึกษา เพื่อได้รับบริการในโรงเรียนเก่าหลังปรับปรุงหรือ โรงเรียนสร้างใหม่

8):1)มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ดินดอยแง่ม 4997ไร่และงบประมาณปี 2540, 2)สถาบันราชภัฏ ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ศรีสะเกษ นครพนม ชัยภูมิ 20 เมษา 2540 ,3) สถาบันอาชีวะศึกษา 278 แห่ง,4) โรงเรียนสมเด็จพระศรีฯ12แห่ง จุฬาภรณ์ 2แห่งกาญจนาภิเษก 1แห่ง มหิดลวิทยานุสรณ์,5) โรงเรียนขยายโอกาส 2685แห่ง,6) ศูนย์เด็กเล็กจาก74 เป็น 3470แห่ง,7) ศูนย์วิทยาศาสตร์ 17 แห่ง  ในสถาบันราชภัฏ,8) ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนภิเษก 99 แห่งทั่วประเทศ เมื่อ 5 ธันวาคม2539,9) อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ปี 2539,10) ห้องสมุดโรงเรียนมัธยม 2542 แห่ง ศูนย์การเรียนรู้และห้องสมุดประชาชนทั่วไทย

9) กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือ กยศ.เบิกจ่ายได้จริง 16 มกราคม พ.ศ. 2539 โดยใช้กฎหมาย พ.ศ.2491 รองรับ 
มีเจตนารมณ์ยกหนี้ให้ผู้เรียนจบจริง เพื่อป้องกัน การใช้ทุนในทางที่ผิด
จึงให้กู้ยืมแทน การให้เปล่า

10) 🏆 UNESCO มอบรางวัลด้านการศึกษา 3 รางวัล เมื่อปี 2540 -2541



การอภิวัฒน์การศึกษา 2538 ซึ่งส่งผลให้ประเทศไทย ได้อันดับ 37 ต่างจากปัจจุบันมาก ใกล้เคียงกับฟินแลนด์มากกว่า



1) Sukavich Rangsitpol,Paper submitted to the 45th session of the International Conference
ที่มา https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000110168

2) Since December 1995, activities have been conducted in four main areas:

·        School reform. Efforts have been stepped up to standardize the quality of education in all levels and types of schools and educational institutions. Educational coverage has been expanded.

·        Teacher reform. Training and recruitment of teachers have been reformed urgently and comprehensively both in public and private schools. Educational administrators and personnel have been developed continuously.

Curriculum reform. Curriculum and teaching-learning processes have been reformed on an urgent basis in order to raise educational quality of all types and levels.

·        Administrative reform. Through devolution, educational institutions have been empowered to make administrative decisions and to offer appropriate educational services which are as consistent as possible with the local lifestyle and conditions. Provincial organizations have been strengthened
 to facilitate devolution while private participation of the family and community have been promoted and supported.

ที่มาhttps://www.ibe.unesco.org//fileadmin/user_upload/archive/Countries/WDE/2006/ASIA_and_the_PACIFIC/Thailand/Thailand.htm

3) ประเทศฟินแลนด์ใช้แนวทางของไทยในปี 1995 เมื่อปี 1998
อ่านเพิ่มเติม http://www.unesco.org/education/information/conferences/europe/1.htm" rel="nofollow" >UNESCO's Educational Activities in The Europe Region  1998 - 2000

4) การรวบอำนาจ รวบงบประมาณ


5) รางวัลของการอภิวัฒน์การศึกษา 2538

1) 1996 "During his trip to the Philippines, H.E. Mr. Sukavich Rangsitpol was conferred an Honorary Degree of Doctor of Education by the Philippine Normal University. His will to reform education and strong leadership in educational management were highly commended."

2) ปี 2540 UNESCO มอบรับรางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483  

3) ปี 2541 UNESCO มอบ รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการบริหารการศึกษา และ บริการการศึกษา
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834

6) จุดเริ่มต้นของปัญหาการศึกษาไทย


7) ปี2568/ 2025


แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่