H.E.Mr.SUKAVICH RANGSITPOL : MINISTER OF EDUCATION , THAILAND

กระทู้สนทนา
Since December 1995, activities have been conducted in four main areas:

·        School reform. Efforts have been stepped up to standardize the quality of education in all levels and types of schools and educational institutions. Educational coverage has been expanded.

·        Teacher reform. Training and recruitment of teachers have been reformed urgently and comprehensively both in public and private schools. Educational administrators and personnel have been developed continuously.

Curriculum reform. Curriculum and teaching-learning processes have been reformed on an urgent basis in order to raise educational quality of all types and levels.

·        Administrative reform. Through devolution, educational institutions have been empowered to make administrative decisions and to offer appropriate educational services which are as consistent as possible with the local lifestyle and conditions. Provincial organizations have been strengthened to facilitate devolution while private participation of the family and community have been promoted and supported.

https://www.ibe.unesco.org//fileadmin/user_upload/archive/Countries/WDE/2006/ASIA_and_the_PACIFIC/Thailand/Thailand.htm

ข้อมูลของUNESCO ซึ่งถูกลบจาก Wikipedia แจ้งความแล้ว แต่ยังจับผู้ต้องหาไม่ได้ 

 According to UNESCO, Thailand education reform has resulted in:
 
* The educational budget increased by 22.5% from 133 billion [[Thai baht|baht]] in 1996 to 163 billion baht in 1997.

* Since 1996, first grade students have been taught [[English as a second or foreign language]] and [[computer literacy]].

* Professional advancement from teacher level 6 to teacher level 7 without having to submit academic work for consideration was approved by the Thai government.

* Free 12 years education for all children provided by the government. This program was added to the 1997 Constitution of Thailand and gave access to all citizens.<ref>{{cite book |title=Education Management Profile: Thailand |date=1998 |publisher=UNESCO PRINCIPAL REGIONAL OFFICE FOR ASIA AND THE PACIFIC |location=Bangkok |url=http://unesdoc.unesco.org/images/0011/001135/113535Eo.pdf |access-date=18 September 2018}}</ref>

*School-based management (SBM) in Thailand began in 1997 in the course of a reform aimed at overcoming a profound crisis in the education system.<ref>{{Cite journal|url=https://www.jstor.org/stable/4151600|jstor=4151600|title=Decentralisation and School-Based Management in Thailand|last1=Gamage|first1=David T.|last2=Sooksomchitra|first2=Pacharapimon|journal=International Review of Education|year=2004|volume=50|issue=3/4|pages=289–305|doi=10.1007/s11159-004-2624-4|s2cid=189768573}}</ref>

*Establish effective Provincial Education Councils with strong community membership. The purpose of decentralization is to ensure that local education needs are met, there should be a close relationship between community representatives and officials. Thus, decentralization will require a careful balance between the guidance of community selected representatives and government officials.<ref>https://documents1.worldbank.org/curated/en/605431468777588612/text/multi-page.txt {{bare URL inline|date=February 2024}}</ref>
 
The 1995 Education Reform results in 20,000 schools under the Education Reform Project were required to improve their school environment and encourage the local community to be involved in school administration and management.<ref>https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000113535_eng page13</ref>
 
Those schools could later accepted 4.35 students aged between 3-17years old from poor families in remote areas .Thereafter Thailand was successfully established Education For All (EFA).<ref>http://wiki.kpi.ac.th/images/5/5f/Pln378.pdf {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190720155749/http://wiki.kpi.ac.th/images/5/5f/Pln378.pdf |date=2019-07-20 }} {{bare URL PDF|date=February 2024}}</ref><ref>{{cite web | url=https://books.google.com/books?id=aL3KoAEACAAJ | title=180 วัน ในกระทรวงศึกษาธิการของนายสุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ พฤศจิกายน 2539-พฤษภาคม 2540 | date=1997 }}</ref> Thus, Thailand received 1997 ACEID awards for excellence in education from UNESCO in 1997<ref>https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483 {{bare URL inline|date=February 2024}}</ref>
 
World Bank report that after the [[1997 Asian financial crisis]] Income in the northeast, the poorest part of Thailand, has risen by 46 percent from 1998 to 2000 due to [[Education For All]].<ref>NESDB, [http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/gpp/GPP98-2001.zip Economic Data, 1995 -2000 ]{{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110719090712/http://www.nesdb.go.th/Portals/0/eco_datas/account/gpp/GPP98-2001zip |date= 2012 }}</ref> Nationwide poverty fell from 21.3 to 11.3 percent.

 Awards 
1) 1996 "During his trip to the Philippines, H.E. Mr. Sukavich Rangsitpol was conferred an Honorary Degree of Doctor of Education by the Philippine Normal University. His will to reform education and strong leadership in educational management were highly commended."
https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm
รางวัลการอภิวัฒน์การศึกษา 2538  UNESCO มอบ ธันวาคม ปี 2540 ซึ่งทีมนักการศึกษา  มีอำนาจในกระทรวงศึกษาตั้งแต่ ธันวาคม 2540 ไปรับ ทั้งที่เป็นผลงานรัฐบาลต้มยำกุ้ง   อภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 -2540

2) ปี 2540 UNESCO มอบรับรางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ 
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483  

3) ปี 2541 UNESCO มอบ รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการบริหารการศึกษา และ บริการการศึกษา 
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834


รายชื่อ นักการศึกษา ที่ปรึกษาของ รัฐบาลต่อมา ซึ่ง ไปรับรางวัลไม่ใช่ ผลงานของตน เอง



ไปรับรางวัล ผลงานของ ผู้ที่ตน ส่ง พรรคพวก มาคัดค้าน


ปัญหา ผู้ปกครองยากจน การ คมนาคม ไม่สะดวก  แก้ไข ด้วย การปฏิรูปการศึกษา ซ้อน ในปี 2542 ทั้งที่ เพิ่งอภิวัฒน์การศึกษาไทย ในปี 2538
และ อันดับ ดีขึ้น จาก 42 เป็น 37
15 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย
          เลาะเลียบคลองผดุงฯ
          ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
          

ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2556 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 15 ปีพอดี
          จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
          นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
          กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์


ปี 2545 ควาย เซ็นเตอร์

          จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้



ปี 2549

          ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
          เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 15 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
          ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
          ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 15 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที
          หน้า 23
 ที่มา: http://www.matichon.co.th/khaosod

มกราคม  ปี 2567

การศึกษาไทยหลงทาง กลางป่าช้า ตั้งแต่ ปี 2000

คลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ



ปี 2567 มิถุนายน



แสดงความคิดเห็น
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ  สุขวิช รังสิตพล
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่