ทำไมคนไทยรู้สึก “เศรษฐกิจไม่ดี” แม้รายได้ฟื้นแล้ว หลังโควิด
“เศรษฐกิจไทยโตต่ำ” กลายเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างระดับชาติ ที่กระทบต่อคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย และฉุดรั้งความเชื่อมั่น ศักยภาพการดึงดูดเงินลงทุนจากต่างชาติ สะท้อนจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในปี 2566 ที่มีมูลค่าต่ำสุดในอาเซียนที่ 2,969 ล้านดอลลาร์ ในขณะที่ครึ่งแรกของปี 2567 นักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นไทยไปแล้วมูลค่า กว่า 100,000 ล้านบาท
ส่วนคนไทยแม้ “แบงก์ชาติ” จะออกมายืนยันว่าเศรษฐกิจไทยกำลังฟื้นเข้าตัวสู่ระดับศักยภาพที่ 3% ในปีหน้า ก็ไม่ได้ทำให้หลายคนรู้สึกถึงแรงกดดันด้านค่าใช้จ่าย และภาระหนี้ที่น้อยลง เพราะเศรษฐกิจดีขึ้นแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามหลายคนกลับรู้สึกว่า “เศรษฐกิจแย่ลง” กว่าช่วงโควิด
ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจที่ลดลง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ล่าสุดเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ต้องออกมาชี้แจงประเด็นข้อสงสัยของสังคม ว่าแบงก์ชาติมองเศรษฐกิจไทยดีเกินกว่าความเป็นจริงหรือไม่ ในงาน “Meet the press ผู้ว่าการ พบสื่อมวลชน” ณ ศูนย์เรียนรู้ธนาคารแห่งประเทศ (ธปท.) เมื่อวันที่ 4 ก.ค.ที่ผ่านมา โดยมีสาระสำคัญดังนี้
ทำไมคนไทยรู้สึก “เศรษฐกิจไม่ดี” แม้รายได้ฟื้นแล้ว หลังโควิด
“เศรษฐกิจไทยโตต่ำ” กลายเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างระดับชาติ ที่กระทบต่อคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย และฉุดรั้งความเชื่อมั่น ศักยภาพการดึงดูดเงินลงทุนจากต่างชาติ สะท้อนจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในปี 2566 ที่มีมูลค่าต่ำสุดในอาเซียนที่ 2,969 ล้านดอลลาร์ ในขณะที่ครึ่งแรกของปี 2567 นักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นไทยไปแล้วมูลค่า กว่า 100,000 ล้านบาท
ส่วนคนไทยแม้ “แบงก์ชาติ” จะออกมายืนยันว่าเศรษฐกิจไทยกำลังฟื้นเข้าตัวสู่ระดับศักยภาพที่ 3% ในปีหน้า ก็ไม่ได้ทำให้หลายคนรู้สึกถึงแรงกดดันด้านค่าใช้จ่าย และภาระหนี้ที่น้อยลง เพราะเศรษฐกิจดีขึ้นแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามหลายคนกลับรู้สึกว่า “เศรษฐกิจแย่ลง” กว่าช่วงโควิด
ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจที่ลดลง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ล่าสุดเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ต้องออกมาชี้แจงประเด็นข้อสงสัยของสังคม ว่าแบงก์ชาติมองเศรษฐกิจไทยดีเกินกว่าความเป็นจริงหรือไม่ ในงาน “Meet the press ผู้ว่าการ พบสื่อมวลชน” ณ ศูนย์เรียนรู้ธนาคารแห่งประเทศ (ธปท.) เมื่อวันที่ 4 ก.ค.ที่ผ่านมา โดยมีสาระสำคัญดังนี้