จากรูปที่เห็น ผมเอามาพิสูจน์ในแง่มุมมองที่เห็นเทียบกับปริมาตรที่ได้รับ
รูปแรกที่เห็นนี้จะเห็นได้ว่า แก้วทั้งคู่มีขนาดความจุที่เท่ากัน แต่ขนาดที่มองด้วยสายตาภายนอกนั้น กับมีความต่าง โดยแก้วพลาสติกหรือเรียกว่าแก้วใส่ความเย็น ถึงแม้ภายนอกจะดูว่ามีขนาดสูงน้อยกว่าแก้วกระดาษ หรือเป็นแก้วที่ใช้ใส่น้ำร้อน แต่ปริมาตรที่ได้ทดลองเท่น้ำจากแก้วใส ใส่ในแก้วกระดาษจนเต็มพอดีความสูง กับพบว่ายังมีเศษน้ำยังเหลืออยู่ที่ก้นของทางแก้วใส แสดงว่าปริมาตรของทางแก้วใส สามารถเก็บปริมาตรของน้ำได้เยอะกว่าทางแก้วกระดาษ ทั้งๆที่แก้วทั้งสองมีขนาดความจุของปริมาตรที่เท่ากัน คือ 16 ออนซ์ อาจเพราะจริงๆแล้ว รัศมีรอบตัวแก้วของแก้วใส มีขนาดมากกว่าแก้วกระดาษนั้นเอง แต่สายตามนุษย์อาจไม่ทันได้สังเกตุในจุดนี้ สายตามนุษย์อาจรับรู้ถึงขนาดความต่างที่เห็นของความสูงของตัวแก้วทั้งสองได้ง่ายกว่า
รูปนี้ ขนาดแก้วทั้งสองเมื่อมองด้วยตาเปล่า กับเห็นว่ามีขนาดเท่ากัน ทั้งที่ขนาดปริมาตรของตัวแก้วที่เขาผลิตออกมามีความต่าง ตัวแก้วความร้อนหรือแก้วกระดาษ มีขนาดปริมาตรความจุ 16 ออนซ์ ส่วนแก้วใสมีขนาดปริมาตรความจุที่มากกว่าคือ 20 ออนซ์ ซึ่งจากการวัดด้วยการเทน้ำ เราก็จะได้เห็นถึงความต่างของปริมาตรของน้ำที่รับได้ของแก้วน้ำทั้งสองนั้นจริงๆ
นำแก้วมาวางเปรียบเทียบ โดยแก้วใสขนาด 16 ออนซ์ จะเป็นแก้วที่ผลิตมาจากต่างโรงงานกับแก้วขนาด 20 ออนซ์ และ 22 ออนซ์ แต่เมื่อดูด้วยสายตาจากขนาดที่ไล่กันลงมา อาจจะคิดว่าขนาดของแก้ว 16 ออนซ์นั้น สามารถแทนขนาดของแก้ว18 ออนซ์ได้เลยนะ
เมื่อนำน้ำใส่แก้วใส 16 ออนซ์ให้เต็ม นำมาเทใสแก้วใสขนาด 20 ออนซ์ จะเห็นได้ว่า ปริมาตรของน้ำที่ได้รับมาจากแก้วน้ำขนาด 16 ออนซ์นั้น มีปริมาตรเกือบจะเต็มถึงส่วนบนสุดของแก้วน้ำขนาด 20 ออนซ์ เลยนะ ทั้งๆที่เมื่อมองจากขนาดภายนอกด้วยสายตา ขนาดของแก้วทั้งสองมันมีขนาดที่ต่างกันเยอะอยู่นะ
อันนี้เมื่อมองด้วยสายตาเราก็จะเห็นถึงขนาดความต่างของตัวแก้วอยู่แล้ว แต่ปริมาตรน้ำที่เมื่อนำน้ำใส่แก้วใส 16 ออนซ์ เทใส่ในแก้วใสขนาด 20 ออนซ์ ปริมาตรน้ำที่ได้เมื่อมองด้วยสายตา กับได้ปริมาตรน้ำที่มีความสูงมากกว่าความสูงของแก้วขนาด 16 ออนซ์ อีกนะ
เมื่อแก้วผลิตจากโรงงานเดียวกัน ขนาดน้ำที่ได้รับ ก็จะเป็นสัดส่วนที่ดูสมเหตุสมผลกันกับปริมาตรของน้ำที่ได้รับมา เมื่อมองดูด้วยสายตา
สรุปก็คือถ้าผู้ผลิตแก้วหรือผู้ที่ขายน้ำ อยากทำให้ผู้บริโภคมีการรับรู้ว่า น้ำที่เขาได้รับในหนึ่งแก้วนั้น มีปริมาตรที่ได้รับมากกว่าร้านอื่นๆเมื่อจ่ายซื้อมาในราคาที่เท่าๆกัน ร้านค้านั้นก็คงต้องไปหาแก้วที่มีรัศมีแก้วทางด้านล่างไม่มาก แต่เป็นแก้วที่เน้นไปทางขนาดความสูงที่เพิ่มเติมขึ้น มันจะทำให้ผู้บริโภครับรู้ได้ว่า ขนาดของน้ำที่เขาได้รับมานั้น มันมากกว่าร้านทั่วๆไปที่เขาขายๆกัน
เอามาวิเคราะห์ให้เห็นถึงความต่างระหว่างมุมมองที่เห็นกับความเป็นจริงที่ได้
รูปแรกที่เห็นนี้จะเห็นได้ว่า แก้วทั้งคู่มีขนาดความจุที่เท่ากัน แต่ขนาดที่มองด้วยสายตาภายนอกนั้น กับมีความต่าง โดยแก้วพลาสติกหรือเรียกว่าแก้วใส่ความเย็น ถึงแม้ภายนอกจะดูว่ามีขนาดสูงน้อยกว่าแก้วกระดาษ หรือเป็นแก้วที่ใช้ใส่น้ำร้อน แต่ปริมาตรที่ได้ทดลองเท่น้ำจากแก้วใส ใส่ในแก้วกระดาษจนเต็มพอดีความสูง กับพบว่ายังมีเศษน้ำยังเหลืออยู่ที่ก้นของทางแก้วใส แสดงว่าปริมาตรของทางแก้วใส สามารถเก็บปริมาตรของน้ำได้เยอะกว่าทางแก้วกระดาษ ทั้งๆที่แก้วทั้งสองมีขนาดความจุของปริมาตรที่เท่ากัน คือ 16 ออนซ์ อาจเพราะจริงๆแล้ว รัศมีรอบตัวแก้วของแก้วใส มีขนาดมากกว่าแก้วกระดาษนั้นเอง แต่สายตามนุษย์อาจไม่ทันได้สังเกตุในจุดนี้ สายตามนุษย์อาจรับรู้ถึงขนาดความต่างที่เห็นของความสูงของตัวแก้วทั้งสองได้ง่ายกว่า
รูปนี้ ขนาดแก้วทั้งสองเมื่อมองด้วยตาเปล่า กับเห็นว่ามีขนาดเท่ากัน ทั้งที่ขนาดปริมาตรของตัวแก้วที่เขาผลิตออกมามีความต่าง ตัวแก้วความร้อนหรือแก้วกระดาษ มีขนาดปริมาตรความจุ 16 ออนซ์ ส่วนแก้วใสมีขนาดปริมาตรความจุที่มากกว่าคือ 20 ออนซ์ ซึ่งจากการวัดด้วยการเทน้ำ เราก็จะได้เห็นถึงความต่างของปริมาตรของน้ำที่รับได้ของแก้วน้ำทั้งสองนั้นจริงๆ
นำแก้วมาวางเปรียบเทียบ โดยแก้วใสขนาด 16 ออนซ์ จะเป็นแก้วที่ผลิตมาจากต่างโรงงานกับแก้วขนาด 20 ออนซ์ และ 22 ออนซ์ แต่เมื่อดูด้วยสายตาจากขนาดที่ไล่กันลงมา อาจจะคิดว่าขนาดของแก้ว 16 ออนซ์นั้น สามารถแทนขนาดของแก้ว18 ออนซ์ได้เลยนะ
เมื่อนำน้ำใส่แก้วใส 16 ออนซ์ให้เต็ม นำมาเทใสแก้วใสขนาด 20 ออนซ์ จะเห็นได้ว่า ปริมาตรของน้ำที่ได้รับมาจากแก้วน้ำขนาด 16 ออนซ์นั้น มีปริมาตรเกือบจะเต็มถึงส่วนบนสุดของแก้วน้ำขนาด 20 ออนซ์ เลยนะ ทั้งๆที่เมื่อมองจากขนาดภายนอกด้วยสายตา ขนาดของแก้วทั้งสองมันมีขนาดที่ต่างกันเยอะอยู่นะ
อันนี้เมื่อมองด้วยสายตาเราก็จะเห็นถึงขนาดความต่างของตัวแก้วอยู่แล้ว แต่ปริมาตรน้ำที่เมื่อนำน้ำใส่แก้วใส 16 ออนซ์ เทใส่ในแก้วใสขนาด 20 ออนซ์ ปริมาตรน้ำที่ได้เมื่อมองด้วยสายตา กับได้ปริมาตรน้ำที่มีความสูงมากกว่าความสูงของแก้วขนาด 16 ออนซ์ อีกนะ
เมื่อแก้วผลิตจากโรงงานเดียวกัน ขนาดน้ำที่ได้รับ ก็จะเป็นสัดส่วนที่ดูสมเหตุสมผลกันกับปริมาตรของน้ำที่ได้รับมา เมื่อมองดูด้วยสายตา
สรุปก็คือถ้าผู้ผลิตแก้วหรือผู้ที่ขายน้ำ อยากทำให้ผู้บริโภคมีการรับรู้ว่า น้ำที่เขาได้รับในหนึ่งแก้วนั้น มีปริมาตรที่ได้รับมากกว่าร้านอื่นๆเมื่อจ่ายซื้อมาในราคาที่เท่าๆกัน ร้านค้านั้นก็คงต้องไปหาแก้วที่มีรัศมีแก้วทางด้านล่างไม่มาก แต่เป็นแก้วที่เน้นไปทางขนาดความสูงที่เพิ่มเติมขึ้น มันจะทำให้ผู้บริโภครับรู้ได้ว่า ขนาดของน้ำที่เขาได้รับมานั้น มันมากกว่าร้านทั่วๆไปที่เขาขายๆกัน