บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย รายงานสถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนพฤษภาคม 2567 ยอดขายตลาดรวม 49,871 คัน ลดลง 23.4% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ตลาดรถยนต์นั่งมีปริมาณการขาย 18,686 คัน ลดลง 28.1% ในขณะที่รถยนต์เพื่อการพาณิชย์มีปริมาณการขาย 31,185 คัน ลดลง 20.2% และรถกระบะขนาด 1 ตัน ยอดขายทั้งหมด17,651คัน ลดลง 35.4%
ประเด็นสำคัญ
ตลาดรถยนต์เดือนพฤษภาคม 2567 มียอดขาย 49,871 คัน ลดลง 23.4% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ตลาดรถยนต์นั่ง ชะลอตัวที่ 28.1% ด้วยยอดขาย 18,686 คัน ตลาดรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ ชะลอตัวเช่นกันที่ 20.2% ด้วยยอดขาย 31,185 คัน และตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน มียอดลดลงถึง 35.4% ด้วยยอดขาย 17,651 คัน ในส่วนของตลาดรถยนต์ xEV มียอดขายทั้งหมด 17,228 คัน คิดเป็นสัดส่วน 34.5% ของตลาดรถยนต์ทั้งหมด เติบโตขึ้น 17.9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยรถยนต์ประเภท HEV มียอดขาย 10,986 คันเติบโตขึ้น 92.1% ในขณะที่ยอดขายรถยนต์ BEV อยู่ที่ 5,573 คัน ลดลง 28.8%
ตลาดรถยนต์ในเดือนมิถุนายน มีแนวโน้มจะดีขึ้นจากเดือนพฤษภาคม แต่มีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลดลง เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเป็นผลมาจากสภาวะเศรษฐกิจในภาพรวม รวมถึงดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ยังคงฟื้นตัวช้าและอัตราการปฏิเสธสินเชื่อยังคงตัวในระดับสูง
ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนพฤษภาคม 2567
1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 49,871 คัน ลดลง 23.4%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 19,504 คัน ลดลง 8.4% ส่วนแบ่งตลาด 39.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 7,883 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 15.8%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 6,527 คัน ลดลง 2.5% ส่วนแบ่งตลาด 13.1%
2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 18,686 คัน ลดลง 28.1%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 5,761 คัน ลดลง 30.3% ส่วนแบ่งตลาด 30.8%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 3,610 คัน ลดลง 18.2% ส่วนแบ่งตลาด 19.3%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 1,572 คัน เพิ่มขึ้น 4.4% ส่วนแบ่งตลาด 8.4%
3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 31,185 คัน ลดลง 20.2%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 13,743 คัน เพิ่มขึ้น 5.5% ส่วนแบ่งตลาด 44.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 7,883 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 25.3%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 2,917 คัน เพิ่มขึ้น 27.8% ส่วนแบ่งตลาด 9.4%
4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*)
ปริมาณการขาย 17,651 คัน ลดลง 35.4%
อันดับที่ 1 โตโยต้า7,855 คัน ลดลง 23% ส่วนแบ่งตลาด 44.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 6,873 คัน ลดลง 43.3% ส่วนแบ่งตลาด 38.9%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด1,699 คัน ลดลง 43.2% ส่วนแบ่งตลาด 9.6%
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 2,819 คัน
โตโยต้า 1,016 คัน - อีซูซุ 898 คัน – ฟอร์ด 543คัน – มิตซูบิชิ 331 คัน – นิสสัน 31 คัน
5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 14,832 คัน ลดลง 33.9%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 6,839 คัน ลดลง 20.8% ส่วนแบ่งตลาด 46.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 5,975 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 40.3%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 1,156 คัน ลดลง 49.4% ส่วนแบ่งตลาด 7.8%
สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – พฤษภาคม 2567
1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 260,365 คัน ลดลง 23.8%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 97,736 คัน ลดลง 15.7% ส่วนแบ่งตลาด 37.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 39,183 คัน ลดลง 46.9% ส่วนแบ่งตลาด 15%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 37,374 คัน ลดลง 4.3% ส่วนแบ่งตลาด 14.4%
2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 101,589 คัน ลดลง 17.9%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 27,892 คัน ลดลง 36.1% ส่วนแบ่งตลาด 27.5%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 21,250 คัน ลดลง 18.2% ส่วนแบ่งตลาด 20.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 8,191 คัน ลดลง 0.4% ส่วนแบ่งตลาด 8.1%
3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย158,776 คัน ลดลง 27.1%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 69,844 คัน ลดลง 3.5% ส่วนแบ่งตลาด 44%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 39,183 คัน ลดลง 46.9% ส่วนแบ่งตลาด 24.7%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 16,124 คัน เพิ่มขึ้น 23.2% ส่วนแบ่งตลาด 10.2%
4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*)
ปริมาณการขาย 91,765 คัน ลดลง 41%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 41,750 คัน ลดลง 30.1% ส่วนแบ่งตลาด 45.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 34,445 คัน ลดลง 49% ส่วนแบ่งตลาด 37.5%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 9,645 คัน ลดลง 42.9% ส่วนแบ่งตลาด 10.5%
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 16,255 คัน
โตโยต้า 5,999 คัน - อีซูซุ 5,110 คัน – ฟอร์ด3,694 คัน – มิตซูบิชิ 1,255 คัน – นิสสัน 197 คัน
5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 75,510 คัน ลดลง 40.8%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 35,751 คัน ลดลง 27.8% ส่วนแบ่งตลาด 47.3%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 29,335 คัน ลดลง 49.1% ส่วนแบ่งตลาด 38.8%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 5,951 คัน ลดลง49.6% ส่วนแบ่งตลาด 7.9%
ตลาดรถยนต์เดือนพฤษภาคมยังคงชะลอตัว ยอดขาย 49,871 คัน ลดลง 23.4%
ประเด็นสำคัญ
ตลาดรถยนต์เดือนพฤษภาคม 2567 มียอดขาย 49,871 คัน ลดลง 23.4% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ตลาดรถยนต์นั่ง ชะลอตัวที่ 28.1% ด้วยยอดขาย 18,686 คัน ตลาดรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ ชะลอตัวเช่นกันที่ 20.2% ด้วยยอดขาย 31,185 คัน และตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน มียอดลดลงถึง 35.4% ด้วยยอดขาย 17,651 คัน ในส่วนของตลาดรถยนต์ xEV มียอดขายทั้งหมด 17,228 คัน คิดเป็นสัดส่วน 34.5% ของตลาดรถยนต์ทั้งหมด เติบโตขึ้น 17.9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยรถยนต์ประเภท HEV มียอดขาย 10,986 คันเติบโตขึ้น 92.1% ในขณะที่ยอดขายรถยนต์ BEV อยู่ที่ 5,573 คัน ลดลง 28.8%
ตลาดรถยนต์ในเดือนมิถุนายน มีแนวโน้มจะดีขึ้นจากเดือนพฤษภาคม แต่มีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลดลง เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเป็นผลมาจากสภาวะเศรษฐกิจในภาพรวม รวมถึงดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ยังคงฟื้นตัวช้าและอัตราการปฏิเสธสินเชื่อยังคงตัวในระดับสูง
ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนพฤษภาคม 2567
1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 49,871 คัน ลดลง 23.4%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 19,504 คัน ลดลง 8.4% ส่วนแบ่งตลาด 39.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 7,883 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 15.8%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 6,527 คัน ลดลง 2.5% ส่วนแบ่งตลาด 13.1%
2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 18,686 คัน ลดลง 28.1%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 5,761 คัน ลดลง 30.3% ส่วนแบ่งตลาด 30.8%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 3,610 คัน ลดลง 18.2% ส่วนแบ่งตลาด 19.3%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 1,572 คัน เพิ่มขึ้น 4.4% ส่วนแบ่งตลาด 8.4%
3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 31,185 คัน ลดลง 20.2%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 13,743 คัน เพิ่มขึ้น 5.5% ส่วนแบ่งตลาด 44.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 7,883 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 25.3%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 2,917 คัน เพิ่มขึ้น 27.8% ส่วนแบ่งตลาด 9.4%
4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*)
ปริมาณการขาย 17,651 คัน ลดลง 35.4%
อันดับที่ 1 โตโยต้า7,855 คัน ลดลง 23% ส่วนแบ่งตลาด 44.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 6,873 คัน ลดลง 43.3% ส่วนแบ่งตลาด 38.9%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด1,699 คัน ลดลง 43.2% ส่วนแบ่งตลาด 9.6%
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 2,819 คัน
โตโยต้า 1,016 คัน - อีซูซุ 898 คัน – ฟอร์ด 543คัน – มิตซูบิชิ 331 คัน – นิสสัน 31 คัน
5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 14,832 คัน ลดลง 33.9%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 6,839 คัน ลดลง 20.8% ส่วนแบ่งตลาด 46.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 5,975 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 40.3%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 1,156 คัน ลดลง 49.4% ส่วนแบ่งตลาด 7.8%
สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – พฤษภาคม 2567
1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 260,365 คัน ลดลง 23.8%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 97,736 คัน ลดลง 15.7% ส่วนแบ่งตลาด 37.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 39,183 คัน ลดลง 46.9% ส่วนแบ่งตลาด 15%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 37,374 คัน ลดลง 4.3% ส่วนแบ่งตลาด 14.4%
2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 101,589 คัน ลดลง 17.9%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 27,892 คัน ลดลง 36.1% ส่วนแบ่งตลาด 27.5%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 21,250 คัน ลดลง 18.2% ส่วนแบ่งตลาด 20.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 8,191 คัน ลดลง 0.4% ส่วนแบ่งตลาด 8.1%
3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย158,776 คัน ลดลง 27.1%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 69,844 คัน ลดลง 3.5% ส่วนแบ่งตลาด 44%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 39,183 คัน ลดลง 46.9% ส่วนแบ่งตลาด 24.7%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 16,124 คัน เพิ่มขึ้น 23.2% ส่วนแบ่งตลาด 10.2%
4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*)
ปริมาณการขาย 91,765 คัน ลดลง 41%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 41,750 คัน ลดลง 30.1% ส่วนแบ่งตลาด 45.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 34,445 คัน ลดลง 49% ส่วนแบ่งตลาด 37.5%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 9,645 คัน ลดลง 42.9% ส่วนแบ่งตลาด 10.5%
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 16,255 คัน
โตโยต้า 5,999 คัน - อีซูซุ 5,110 คัน – ฟอร์ด3,694 คัน – มิตซูบิชิ 1,255 คัน – นิสสัน 197 คัน
5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 75,510 คัน ลดลง 40.8%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 35,751 คัน ลดลง 27.8% ส่วนแบ่งตลาด 47.3%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 29,335 คัน ลดลง 49.1% ส่วนแบ่งตลาด 38.8%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 5,951 คัน ลดลง49.6% ส่วนแบ่งตลาด 7.9%