สมาธิทุกขั้นมีรสชาติคือความรู้สึก อันเป็นความรู้สึกในจิต เช่น ปิติ สุข ว่างเบา มั่นคง อันเป็นความรู้สึก สุข ว่างเบา มั่นคง ของจิต ไม่ใช่ในจิตว่างไม่มีอะไร
รู้สึกว่างเบาเป็นผลจากการภาวนา เช่นว่างเบาในสุญญตสมาธิ
รู้สึกว่าง คือรสชาติของจิตที่เกิดจากการภาวนา คือขณะภาวนาเกิดสมาธิไปด้วย ว่างจึงเป็นว่างจากตัวตน(สัมมาทิฐิ) ไม่ใช่ว่างจากอารมณ์ทางขันธ์5 ดังนั้นในสุญญตสมาธิ ยังมีอาการทางขันธ์5เกิดอยู่ภายใน แต่อารมณ์ทางขันธ์5นั้นไม่ทำให้เกิดตัวตนในจิตผู้รู้
ดังนั้นหากตีความไปตามตำรา ปริยัติจะไม่มีโอกาสรู้รสชาดความว่างเลยว่าเป็นอย่างไร ปริยัติจะเข้าใจตามตรรกะว่า ว่างคือว่างที่ไม่มีอะไร
รู้จักรสชาติความว่างเบา
รู้สึกว่างเบาเป็นผลจากการภาวนา เช่นว่างเบาในสุญญตสมาธิ
รู้สึกว่าง คือรสชาติของจิตที่เกิดจากการภาวนา คือขณะภาวนาเกิดสมาธิไปด้วย ว่างจึงเป็นว่างจากตัวตน(สัมมาทิฐิ) ไม่ใช่ว่างจากอารมณ์ทางขันธ์5 ดังนั้นในสุญญตสมาธิ ยังมีอาการทางขันธ์5เกิดอยู่ภายใน แต่อารมณ์ทางขันธ์5นั้นไม่ทำให้เกิดตัวตนในจิตผู้รู้
ดังนั้นหากตีความไปตามตำรา ปริยัติจะไม่มีโอกาสรู้รสชาดความว่างเลยว่าเป็นอย่างไร ปริยัติจะเข้าใจตามตรรกะว่า ว่างคือว่างที่ไม่มีอะไร