แบบให้ประชาชนเดินทางไปเลือกตั้ง สิ้นเปลือง
1. ค่าพลังงาน น้ำมัน-ไฟฟ้า
2. ค่าจ้างเจ้าหน้าที่
3. ค่ากระดาษ
4. ค่าเดินทางของเจ้าหน้าที่ส่งหีบ
ข้อดี เป็นประโยชน์กับประชาชนที่ไม่ชอบขั้นตอนทางดิจิทัล และไม่มีมือถือ
ข้อเสีย ทุจริตได้ง่าย เปลี่ยนหีบ เปลี่ยนบัตร หีบหายในการขนส่งระหว่างประเทศ
การใช้แอพพลิเคชั่น เลือกตั้ง
ข้อดี ประหยัดงบ และประหยัดเวลานับคะแนน
มีค่าใช้จ่ายแบบเหมารวม ทำให้งบเลือกตั้งต่อปีลดลง ระยะยาว 3 ปีน่าจะประหยัดกว่าการเลือกตั้งแบบเดิม
โดยใช้กับทุกประเภทเลือกตั้งภายใต้การดูแลของ กกต
ใช้กับการเลือกตั้งได้ทุกครั้ง ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นไปถึงระดับชาติ
สำหรับประชากร 20% ที่อาจไม่มีมือถือ หรือ
ไม่อยากเข้าถึงการเลือกตั้งออนไลน์ด้วยเหตุผลอื่น
ยังคงสามารถเลือกตั้งแบบปกติได้
แต่ก็ประหยัดจำนวนเจ้าหน้าที่และเวลาในการนับคะแนนไปได้มาก
ข้อเสีย บิดเบือนได้ ประชาชนส่วนหนึ่งอาจให้บัตร แก่ผู้อื่น
ไปช่วยกดจัดการการเลือกตั้งแล้วเพียงใช้นิ้วมือของตนประทับ
หรือ ตนป็นผู้กดรหัสผ่าน / OTP
หากตรวจสอบจากระบบธนาคารกับแอพเป๋าตังค์ เราจะทราบว่า ประชาชนกี่% ที่เข้าถึงการใช้แอพได้
ซึ่งแน่นอนว่าปัญหาการรั่วไหล ใช้เสียงไม่ถูกต้อง หรือ บิดเบือน ย่อมมีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่แบบไหน
จะปนคะแนนที่เป็นโมฆะ และซื้อเสียงได้ง่ายกว่า อย่าลืมว่า การใช้ระบบหีบบัตรก็โกงได้
บางทีโกงทีเดียวทั้งหีบ ส่วนการใช้แอพ ทำได้ทีละคน เช่น กดให้ย่า แล้วกดเลือกเอง แต่ให้ย่ากดรหัสผ่าน
ใช้แอพ กับ เดินทางไปหน่วยเลือกตั้ง แบบไหนเปลืองงบมากกว่ากัน
1. ค่าพลังงาน น้ำมัน-ไฟฟ้า
2. ค่าจ้างเจ้าหน้าที่
3. ค่ากระดาษ
4. ค่าเดินทางของเจ้าหน้าที่ส่งหีบ
ข้อดี เป็นประโยชน์กับประชาชนที่ไม่ชอบขั้นตอนทางดิจิทัล และไม่มีมือถือ
ข้อเสีย ทุจริตได้ง่าย เปลี่ยนหีบ เปลี่ยนบัตร หีบหายในการขนส่งระหว่างประเทศ
การใช้แอพพลิเคชั่น เลือกตั้ง
ข้อดี ประหยัดงบ และประหยัดเวลานับคะแนน
มีค่าใช้จ่ายแบบเหมารวม ทำให้งบเลือกตั้งต่อปีลดลง ระยะยาว 3 ปีน่าจะประหยัดกว่าการเลือกตั้งแบบเดิม
โดยใช้กับทุกประเภทเลือกตั้งภายใต้การดูแลของ กกต
ใช้กับการเลือกตั้งได้ทุกครั้ง ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นไปถึงระดับชาติ
สำหรับประชากร 20% ที่อาจไม่มีมือถือ หรือ
ไม่อยากเข้าถึงการเลือกตั้งออนไลน์ด้วยเหตุผลอื่น
ยังคงสามารถเลือกตั้งแบบปกติได้
แต่ก็ประหยัดจำนวนเจ้าหน้าที่และเวลาในการนับคะแนนไปได้มาก
ข้อเสีย บิดเบือนได้ ประชาชนส่วนหนึ่งอาจให้บัตร แก่ผู้อื่น
ไปช่วยกดจัดการการเลือกตั้งแล้วเพียงใช้นิ้วมือของตนประทับ
หรือ ตนป็นผู้กดรหัสผ่าน / OTP
หากตรวจสอบจากระบบธนาคารกับแอพเป๋าตังค์ เราจะทราบว่า ประชาชนกี่% ที่เข้าถึงการใช้แอพได้
ซึ่งแน่นอนว่าปัญหาการรั่วไหล ใช้เสียงไม่ถูกต้อง หรือ บิดเบือน ย่อมมีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่แบบไหน
จะปนคะแนนที่เป็นโมฆะ และซื้อเสียงได้ง่ายกว่า อย่าลืมว่า การใช้ระบบหีบบัตรก็โกงได้
บางทีโกงทีเดียวทั้งหีบ ส่วนการใช้แอพ ทำได้ทีละคน เช่น กดให้ย่า แล้วกดเลือกเอง แต่ให้ย่ากดรหัสผ่าน