อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กระแสเงินสดหายไปจากระบบ พร้อมกันนั้นสินค้าโภคภัณฑ์ก็มีราคาสูงขึ้นด้วย ไม่ว่าจะสินค้าพลังงาน, เหล็ก, สินค้าเกษตร
——————————-
สั้นๆคือ : สินค้ามีราคาสูงขึ้นตามเงินเฟ้อ แต่คนส่วนใหญ่กลับมีปัญหาว่าเงินไม่พอจ่าย
จากข้อมูลพบว่า สถานการณ์หนี้ครัวเรือนไทยปี 2566 อยู่ที่ 16.2 ล้านล้านบาท โดยเกษตรกร และกลุ่มผู้มีรายได้น้อยเป็นสองกลุ่มที่มีสถานการณ์หนี้น่าเป็นห่วง คือ มีสัดส่วนภาระหนี้ต่อรายได้สูงอยู่ที่ 34% และ 41% ตามลำดับ สอดคล้องกับข้อมูลรายจ่ายเฉลี่ยของครัวเรือนไทย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นค่าอุปโภคบริโภคถึง 87% โดยรายจ่ายสูงสุด คือ อาหาร เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ คิดเป็น 35.5% โดยเฉพาะครอบครัวผู้มีรายได้น้อยมีค่าใช้จ่ายการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงกว่าครอบครัวรายได้สูงถึง 6 เท่า และใช้เงิน 21.5% ของรายได้ไปกับการสูบบุหรี่ ทำให้เหลือเงินสำหรับใช้จ่ายด้านอื่นที่จำเป็นน้อยลงก่อให้เกิดหนี้สินเพิ่มขึ้น
อ้างอิง
https://www.hfocus.org/content/2024/03/30069#:~:text=จากข้อมูลพบว่า%20สถานการณ์,87%25%20โดยรายจ่ายสูงสุด%20คือ
Stagflation ทำไมเงินถึงเฟ้อและฝืด พร้อมกันได้
——————————-
สั้นๆคือ : สินค้ามีราคาสูงขึ้นตามเงินเฟ้อ แต่คนส่วนใหญ่กลับมีปัญหาว่าเงินไม่พอจ่าย
จากข้อมูลพบว่า สถานการณ์หนี้ครัวเรือนไทยปี 2566 อยู่ที่ 16.2 ล้านล้านบาท โดยเกษตรกร และกลุ่มผู้มีรายได้น้อยเป็นสองกลุ่มที่มีสถานการณ์หนี้น่าเป็นห่วง คือ มีสัดส่วนภาระหนี้ต่อรายได้สูงอยู่ที่ 34% และ 41% ตามลำดับ สอดคล้องกับข้อมูลรายจ่ายเฉลี่ยของครัวเรือนไทย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นค่าอุปโภคบริโภคถึง 87% โดยรายจ่ายสูงสุด คือ อาหาร เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ คิดเป็น 35.5% โดยเฉพาะครอบครัวผู้มีรายได้น้อยมีค่าใช้จ่ายการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูงกว่าครอบครัวรายได้สูงถึง 6 เท่า และใช้เงิน 21.5% ของรายได้ไปกับการสูบบุหรี่ ทำให้เหลือเงินสำหรับใช้จ่ายด้านอื่นที่จำเป็นน้อยลงก่อให้เกิดหนี้สินเพิ่มขึ้น
อ้างอิง https://www.hfocus.org/content/2024/03/30069#:~:text=จากข้อมูลพบว่า%20สถานการณ์,87%25%20โดยรายจ่ายสูงสุด%20คือ