ลองคำนวนการใช้ไฟในบ้านแบบ TOU ก่อน ถ้ากลางวันใช้ไฟวันหยุดมาก คุ้มและเสียค่าเปลี่ยนมิเตอร์ไม่มากครับ
อัตราค่าไฟฟ้า TOU หรือ อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) เป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่สะท้อนถึงต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าแบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา คือ
Peak : เวลา 09.00 น. – 22.00 น. วันจันทร์ - ศุกร์ และวันพืชมงคล
Off-Peak : เวลา 22.00 น. – 09.00 น. วันจันทร์ - ศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 น. – 24.00 น. วันเสาร์ - อาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันพืชมงคล ที่ตรงกับวันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย)
กฟน.
https://www.mea.or.th/public-relations/press-media/infographics/45jty6mEV
กฟภ.
https://www.pea.co.th/ข่าวสารประกาศ/ข่าวประชาสัมพันธ์/ArtMID/542/ArticleID/119801/คำชี้แจงเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า-TOี
อากาศ เม.ย. เดือด ไทยร้อนปรอทแตก กระหน่ำเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า ปีนี้ทุบสถิติใช้ไฟสูงสุด 7 ครั้งแล้ว ล่าสุดสูงสุดเป็นประวัติการณ์ 36,356 เมกะวัตต์
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันที่ 27 เม.ย. 67 เวลา 20.57 น. ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (ไฟพีก) ในระบบทั้ง 3 การไฟฟ้า (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) มีค่าเท่ากับ 36,356.1 เมกะวัตต์ ทำลายสถิติการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในระบบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 66 เวลา 21.41 น. มีค่าเท่ากับ 34,826.5 เมกะวัตต์ คาดว่า เป็นผลจากสภาพอากาศที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 36-38 องศาเซลเซียส ทำให้พฤติกรรมการใช้ไฟในเวลากลางคืน ส่งผลให้ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 2567 เป็นต้นมา ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (ไฟพีก) ของระบบการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและทำลายสถิติไฟพีกเดิมถึง 7 ครั้ง
ครั้งแรก วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 21.00 น. มีค่าเท่ากับ 33,340.1 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 2 วันที่ 2 เมษายน 2567 เวลา 20.51 น. มีค่าเท่ากับ 33,827.1 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 3 วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 21.00 น. มีค่าเท่ากับ 34,196.5 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 4 วันที่ 5 เมษายน 2567 เวลา 22.22 น. มีค่าเท่ากับ 34,277.4 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 5 วันที่ 6 เมษายน 2567 เวลา 20.54 น. มีค่าเท่ากับ 34,656.4 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 6 วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 20.58 น. มีค่าเท่ากับ 35,830 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 7 วันที่ 27 เมษายน 2567 เวลา 20.57 น. มีค่าเท่ากับ 36,356.1 เมกะวัตต์
ทั้งนี้จากประมาณการของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานชาติ (สนพ.) คาดว่าค่าไฟพีกสูงสุดจะอยู่ที่ประมาณ 35,000-36,000 เมกะวัตต์ รวมถึงประเมินว่าปี 2567 จะมีแนวโน้มการใช้ไฟอยู่ที่ 210,170 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง (GWh) หรือเพิ่มขึ้น 3.1% จากปี 66...
สามารถติดตามต่อได้ที่ :
https://www.dailynews.co.th/news/3383039/
เม.ย.โคตรเดือด! กระหน่ำใช้ไฟทุบทุกสถิติ สูงที่สุดในประวัติศาสตร์...
อัตราค่าไฟฟ้า TOU หรือ อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff) เป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่สะท้อนถึงต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าแบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา คือ
Peak : เวลา 09.00 น. – 22.00 น. วันจันทร์ - ศุกร์ และวันพืชมงคล
Off-Peak : เวลา 22.00 น. – 09.00 น. วันจันทร์ - ศุกร์ และวันพืชมงคล
: เวลา 00.00 น. – 24.00 น. วันเสาร์ - อาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันพืชมงคล ที่ตรงกับวันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย)
กฟน. https://www.mea.or.th/public-relations/press-media/infographics/45jty6mEV
กฟภ. https://www.pea.co.th/ข่าวสารประกาศ/ข่าวประชาสัมพันธ์/ArtMID/542/ArticleID/119801/คำชี้แจงเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า-TOี
อากาศ เม.ย. เดือด ไทยร้อนปรอทแตก กระหน่ำเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า ปีนี้ทุบสถิติใช้ไฟสูงสุด 7 ครั้งแล้ว ล่าสุดสูงสุดเป็นประวัติการณ์ 36,356 เมกะวัตต์
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันที่ 27 เม.ย. 67 เวลา 20.57 น. ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (ไฟพีก) ในระบบทั้ง 3 การไฟฟ้า (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) มีค่าเท่ากับ 36,356.1 เมกะวัตต์ ทำลายสถิติการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในระบบ ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 66 เวลา 21.41 น. มีค่าเท่ากับ 34,826.5 เมกะวัตต์ คาดว่า เป็นผลจากสภาพอากาศที่ปรับตัวสูงขึ้น โดยอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 36-38 องศาเซลเซียส ทำให้พฤติกรรมการใช้ไฟในเวลากลางคืน ส่งผลให้ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 2567 เป็นต้นมา ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (ไฟพีก) ของระบบการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและทำลายสถิติไฟพีกเดิมถึง 7 ครั้ง
ครั้งแรก วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 21.00 น. มีค่าเท่ากับ 33,340.1 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 2 วันที่ 2 เมษายน 2567 เวลา 20.51 น. มีค่าเท่ากับ 33,827.1 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 3 วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 21.00 น. มีค่าเท่ากับ 34,196.5 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 4 วันที่ 5 เมษายน 2567 เวลา 22.22 น. มีค่าเท่ากับ 34,277.4 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 5 วันที่ 6 เมษายน 2567 เวลา 20.54 น. มีค่าเท่ากับ 34,656.4 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 6 วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 20.58 น. มีค่าเท่ากับ 35,830 เมกะวัตต์
ครั้งที่ 7 วันที่ 27 เมษายน 2567 เวลา 20.57 น. มีค่าเท่ากับ 36,356.1 เมกะวัตต์
ทั้งนี้จากประมาณการของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานชาติ (สนพ.) คาดว่าค่าไฟพีกสูงสุดจะอยู่ที่ประมาณ 35,000-36,000 เมกะวัตต์ รวมถึงประเมินว่าปี 2567 จะมีแนวโน้มการใช้ไฟอยู่ที่ 210,170 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง (GWh) หรือเพิ่มขึ้น 3.1% จากปี 66...
สามารถติดตามต่อได้ที่ : https://www.dailynews.co.th/news/3383039/