1) 150 วันในกระทรวงศึกษาธิการ
https://drive.google.com/file/d/1koBrisaqUuQy33QBcQWKHNMe-VMFGrr7/view
ปี2538 แรงงานไทย 79.1 %
ได้รับบริการการศึกษาระดับประถมหรือต่ำกว่า
จึง…ทำไร่เลื่อนลอย
2504- 2538 เพียง 34 ปี
ประเทศไทยสูญเสีย…ป่าไม้ 88.84 ล้านไร่คาดว่าปี 2560
จะเหลือป่าเพียง 72 ล้านไร่
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล
จึง…อภิวัฒน์การศึกษาไทย2538
ป่าไม้ ปี 2565 102,135,974.96 ไร่
2) คู่มือการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ซึ่งไม่สำเร็จในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร เพราะอยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 ซึ่งมีปัญหาในระดับปฏิบัติการ จึงไม่สามารถจัดบริการการศึกษาก่อนวัยเรียน อายุ 3-5 ปี 7แสนคน จัดบริการชั้นประถมอายุ6-11ปีไม่ได้ 6.5แสนคน จัดบริการมัธยมต้นอายุ12-14ปีไม่ได้ 1ล้านคน และ จัดบริการคนไทยอายุ 15-17ปี ทั้งสายสามัญ และ อาชีวะไม่ได้ 2 ล้านคน
รวมไม่ได้รับบริการการศึกษา 4.35 ล้านคน อายุระหว่าง 3-17ปี ดังนั้นไม่ได้รับนมโรงเรียน และ อาหารกลางวัน
https://drive.google.com/file/d/1Qp2GxXhlKgLtt1FmNwbNSSfL9xij7Oex/view?usp=drivesdk
3) 180 วันในกระทรวงศึกษาธิการ
https://drive.google.com/file/d/1l9b-mUDDOvsfkyj2DUSzOwBrGM84Lhxt/view?usp=drivesdk
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล คิดกระบวนทัศน์ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 8 เพื่อคน ให้คน โดยคน และให้ผู้ปฏิบัติการในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน และ จัดสรรงบประมาณตามงาน แทนตามหน่วยราชการ
รวมทั้งให้คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ไม่ใช่คำนึงถึงเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ทำลายความสุขของคนและสิ่งแวดล้อม ด้วยความร่วมมือของ บุคคลากรทางการศึกษา พ่อค้า ประชาชน และ นักการเมืองทุกระดับ ภายใต้การนำของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เดือนพฤษภาคม 2540 คนไทยอายุ 3-17ปี 12.33 ล้านคนได้เรียนในสถานศึกษาที่เป็นปัจจุบัน พร้อมอาหารกลางวัน นม และอุปกรณ์ครบครันอย่างเสมอภาค เนื่องจากหารงบประมาณเท่ากัน โรงเรียนใหญ่จะเล็กลง และ โรงเรียนเล็กจะใหญ่ขึ้น ภายใน12ปี การศึกษาไทยจะต้องดีที่สุดในโลก ในปี 2550
4) รางวัลการบริหารการศึกษาเป็นเลิศ จาก UNESCO ปี 2540
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483
5) รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดบริการการศึกษา
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
6) ประเทศไทยเปลี่ยนนโยบายการศึกษา ด้วยกฎหมายของนักการศึกษาไทย เมื่อปี 2542 เป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งขัดต่อวัตถุประสงค์ของ เจ้าของผลงานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 คือ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล อย่างสุดกู่ค่ะ
รายชื่อบุคคลซึ่งเรียกตัวเองว่า อรหันต์ทางการศึกษา
7) 15 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย
เลาะเลียบคลองผดุงฯ
ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2556 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 15 ปีพอดี
จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์
จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 15 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 15 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที
หน้า 23
ที่มา:
http://www.matichon.co.th/khaosod
ปี2556 + 11 = ปี 2567 ปัจจุบันค่ะ
อ้างอิงคุณวิโรจน์ ก้วไกล การศึกษาไทยหลงทางอยู่กลางป่าช้า และ คะแนนPISA ตกต่ำต่อเนื่องถึง มกราคม 2567 ตามคลิปค่ะ
การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ได้รับรางวัล UNESCO ด้านบริหารการศึกษา ปี2540 &ปี 2541
ปี2538 แรงงานไทย 79.1 %
ได้รับบริการการศึกษาระดับประถมหรือต่ำกว่า
จึง…ทำไร่เลื่อนลอย
2504- 2538 เพียง 34 ปี
ประเทศไทยสูญเสีย…ป่าไม้ 88.84 ล้านไร่คาดว่าปี 2560
จะเหลือป่าเพียง 72 ล้านไร่
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล
จึง…อภิวัฒน์การศึกษาไทย2538
ป่าไม้ ปี 2565 102,135,974.96 ไร่
2) คู่มือการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ซึ่งไม่สำเร็จในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร เพราะอยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 ซึ่งมีปัญหาในระดับปฏิบัติการ จึงไม่สามารถจัดบริการการศึกษาก่อนวัยเรียน อายุ 3-5 ปี 7แสนคน จัดบริการชั้นประถมอายุ6-11ปีไม่ได้ 6.5แสนคน จัดบริการมัธยมต้นอายุ12-14ปีไม่ได้ 1ล้านคน และ จัดบริการคนไทยอายุ 15-17ปี ทั้งสายสามัญ และ อาชีวะไม่ได้ 2 ล้านคน
รวมไม่ได้รับบริการการศึกษา 4.35 ล้านคน อายุระหว่าง 3-17ปี ดังนั้นไม่ได้รับนมโรงเรียน และ อาหารกลางวัน
https://drive.google.com/file/d/1Qp2GxXhlKgLtt1FmNwbNSSfL9xij7Oex/view?usp=drivesdk
3) 180 วันในกระทรวงศึกษาธิการ https://drive.google.com/file/d/1l9b-mUDDOvsfkyj2DUSzOwBrGM84Lhxt/view?usp=drivesdk
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล คิดกระบวนทัศน์ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 8 เพื่อคน ให้คน โดยคน และให้ผู้ปฏิบัติการในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน และ จัดสรรงบประมาณตามงาน แทนตามหน่วยราชการ
รวมทั้งให้คนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ไม่ใช่คำนึงถึงเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ทำลายความสุขของคนและสิ่งแวดล้อม ด้วยความร่วมมือของ บุคคลากรทางการศึกษา พ่อค้า ประชาชน และ นักการเมืองทุกระดับ ภายใต้การนำของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เดือนพฤษภาคม 2540 คนไทยอายุ 3-17ปี 12.33 ล้านคนได้เรียนในสถานศึกษาที่เป็นปัจจุบัน พร้อมอาหารกลางวัน นม และอุปกรณ์ครบครันอย่างเสมอภาค เนื่องจากหารงบประมาณเท่ากัน โรงเรียนใหญ่จะเล็กลง และ โรงเรียนเล็กจะใหญ่ขึ้น ภายใน12ปี การศึกษาไทยจะต้องดีที่สุดในโลก ในปี 2550
4) รางวัลการบริหารการศึกษาเป็นเลิศ จาก UNESCO ปี 2540 https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483
5) รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดบริการการศึกษา https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834
6) ประเทศไทยเปลี่ยนนโยบายการศึกษา ด้วยกฎหมายของนักการศึกษาไทย เมื่อปี 2542 เป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งขัดต่อวัตถุประสงค์ของ เจ้าของผลงานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 คือ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล อย่างสุดกู่ค่ะ
รายชื่อบุคคลซึ่งเรียกตัวเองว่า อรหันต์ทางการศึกษา
7) 15 ปี ปฏิรูปการศึกษาไทย
เลาะเลียบคลองผดุงฯ
ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2556 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 15 ปีพอดี
จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง
นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)
กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์
จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง
เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 15 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก
ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 15 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที
หน้า 23
ที่มา: http://www.matichon.co.th/khaosod
ปี2556 + 11 = ปี 2567 ปัจจุบันค่ะ
อ้างอิงคุณวิโรจน์ ก้วไกล การศึกษาไทยหลงทางอยู่กลางป่าช้า และ คะแนนPISA ตกต่ำต่อเนื่องถึง มกราคม 2567 ตามคลิปค่ะ