การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นความจําเป็นเร่งด่วนอีกประการหนึ่งที่จะทําให้ แผนการปฏิรูปการศึกษา2538บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ เพราะ ครูเป็นบุคลากรที่มีความสําคัญที่สุดในกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณ ลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยความสําคัญดังกล่าว จึงได้กําหนดให้การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นแนวปฏิบัติ สําคัญในการปฏิรูปการศึกษาแนวทางหนึ่ง
เพราะสภาพของสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน์ แผนแม่บทการปฏิรูปการศึกษา2538 จึงได้กําหนดแนวทางจัดการศึกษาและ จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับสภาพที่ เปลี่ยนแปลงไป
ด้วยการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้สามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมกับยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา2538 ในปีงบ ประมาณ 2540 กรมสามัญศึกษาได้พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา แล้วประมาณ 95,000 คน ได้รับงบประมาณสนับสนุนตามแผนแม่บทปฏิรูปการศึกษา2538 ทั้งสิ้น 51.207 ล้านบาท การดําเนินการที่สําคัญ คือ
1. จัดประชุมปฏิบัติการปรับกระบวนทัศน์ และแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ 604 คน ผู้บริหาร โรงเรียน 2,542 คน และครูผู้สอน 75,270 คน
2. อบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 4,320 คน
3. อบรมครูที่สอนไม่ตรงวุฒิในวิชาขาดแคลน 1,300 คน
4. อบรมครูภาษาต่างประเทศ 1,826 คน
5. อบรมการผลิตสื่อขั้นพื้นฐานให้แก่ครู 280 คน
6. อบรมการบํารุงรักษา และปรับซ่อม เครื่องใช้สํานักงาน 300 คน
7. อบรมเจ้าหน้าที่พัสดุโรงเรียน และ สํานักงานสามัญศึกษาจังหวัด 600 คน
8. อบรมเจ้าหน้าที่การเงินของโรงเรียน 182 คน
9. อบรมครูแนะแนวและครูอนามัยของ โรงเรียน 680 คน
10. อบรมครูและบุคลากรโรงเรียนศึกษา พิเศษ 4,030 คน
11. อบรมการใช้คอมพิวเตอร์แก่ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และศึกษาพิเศษ 90 คน
12. อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการ ออกแบบก่อสร้าง 80 คน
13. ประชุมสัมมนาผู้บริหารโรงเรียน มัธยมศึกษาและหัวหน้าหน่วยงาน 2,865 คน
นอกจากการอบรมข้างต้น จังหวัดกลุ่มโรงเรียนและโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ได้จัดอบรมครูส่วนที่เหลือทุกคน เพื่อพัฒนา ทักษะการจัดการเรียนการสอน โดยยึดนักเรียน เป็นศูนย์กลาง และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ จัดการเรียนการสอน การพัฒนาบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียน
การพัฒนาบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่เกื้อหนุนให้ การอภิวัฒน์การศึกษา2538 มีความเป็นรูปธรรมและประสบความสําเร็จได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในโลกยุคสังคม ข่าวสารหรือสังคมแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนหรือสถานศึกษาจะต้องจัดข่าวสารข้อมูล และ บรรยากาศที่เอื้อให้นักเรียนได้รับรู้ข่าวสารข้อมูล ด้านต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับสังคมภายนอกและ สังคมโลก
รวมทั้งให้มีบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถ แสวงหาความรู้ด้านต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองอย่าง เหมาะสม หลากหลาย และต่อเนื่อง โดยส่งเสริมให้โรงเรียนจัดบรรยากาศการเรียนรู้อย่าง กว้างขวางและหลากหลายทั้งในและนอกห้อง เรียน เช่น การจัดห้องสมุดแบบสหวิทยาการให้มีสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เช่น อินเทอร์เนต ซีดีรอม บทเรียนสําเร็จรูป โดยจัดงบประมาณเป็นพิเศษให้โรงเรียนที่มีห้อง สมุดกาญจนาภิเษก 1,159 โรง รวม 43.205 ล้านบาท และจัดหนังสือและสื่ออื่น ๆ ให้โรง เรียนอีก 62.782 ล้านบาท จัดอาคาร สถานที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองในโรงเรียน เช่น มุมความรู้ ป้ายนิเทศ สวนหย่อม สวนป่า สวนพืชสมุนไพร พืชในวรรณคดี ตามแนวทาง อุทยานการศึกษา โดยสอดแทรกข้อมูลข่าวสาร และความรู้ควบคู่กับความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม จัดกิจกรรมประกวด แข่งขัน การแสดงผลงาน ทางวิชาการด้านต่างๆ สลับหมุนเวียนตลอดปี จัดเครือข่ายโสตทัศนศึกษา เช่น โทรทัศน์วงจร ปิด ทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน และการ จัดข่าวสารข้อมูลด้านต่าง ๆ ให้แก่นักเรียนได้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและทันสมัย
การพัฒนาการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
การจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยการจัดมวลประสบการณ์ที่เหมาะสมจะช่วย ปลูกฝัง หล่อหลอม และพัฒนาผู้เรียนให้มี ลักษณะที่พึงประสงค์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้รับผิดชอบ ลงมือปฏิบัติ และค้นพบ คําตอบได้ด้วยตนเอง หรือการจัดการเรียนการ สอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เป็นกระบวน การจัดการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และพัฒนาการด้าน อื่น ๆ ที่ยั่งยืนและเหมาะสม
กรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดกรมสามัญศึกษา จัดการเรียนการสอนตามแผนแม่บทนโยบายการปฏิรูปการศึกษา2538
1. จัดประชุมอบรมสัมมนาเพื่อปรับ กระบวนทัศน์ พัฒนาความรู้และทักษะการ จัดการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์ กลางให้แก่บุคลากรรวม 76,452 คน ประกอบ ด้วย ศึกษานิเทศก์ 604 คน ผู้บริหารโรงเรียน 2,542 คน และครูผู้สอน 75,270 คน
2. ผลิตสื่อและนวัตกรรมส่งเสริมการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง 13 รูปแบบ จํานวน 35,110 เล่ม แจก จ่ายทั่วประเทศ
3. ผลิตบทเรียนสําเร็จรูป 20 เรื่อง และทําสําเนาส่งให้โรงเรียนทั่วประเทศ
4. โรงเรียน 2,542 โรง จัดประสบการณ์ การเรียนรู้โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
การขยายโอกาสทางการศึกษา
แผนแม่บทนโยบายการปฏิรูปการศึกษา2538 ได้กำหนดแนวทางการขยายโอกาสทางการศึกษาไว้อย่างแน่ชัดว่า จะขยายโอกาสทางการศึกษากับเยาวชนทุกคน เพราะตระหนักดีว่าการศึกษาคือปัจจัยสําคัญ ในการพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนั้นเยาวชนทุกคนจึงควรได้รับการศึกษา
อย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อการดํารงชีวิตอยู่ ในสังคมอย่างมีความสุข
ด้วยความสําคัญของ การศึกษาดังกล่าว กรมสามัญศึกษาจึงได้พยายามรณรงค์เพื่อให้นักเรียนได้เข้ารับการ ศึกษาในโรงเรียนในสังกัดตามเป้าหมายที่ กระทรวงศึกษาธิการกําหนดให้ด้วยการดําเนิน การขยายโอกาสทางการศึกษาในหลายๆ ส่วน ดังนี้
1. การรับนักเรียนปี 2540
1.1 ด้านการมัธยมศึกษา
ในปีการศึกษา 2540 กรมสามัญศึกษารับนักเรียนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ได้จํานวน 627,011 คน คิดเป็นร้อยละ 97.05 ของแผนแม่บทปฏิรูปการศึกษา2538 และรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้จํานวน 354,160 คน คิดเป็นร้อยละ 100.08 ของแผน
รวมจํานวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ของกรมสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2540 มีทั้ง สิ้น 2,634,538 คน เป็นนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น 1,728,268 คน และนักเรียนมัธยม ศึกษาตอนปลาย 876,270 คน
1.2 ด้านการศึกษาพิเศษ
ในปีการศึกษา 2540 กรมสามัญศึกษาจัดให้นักเรียนที่มีความพิการทุกประเภทเข้ารับการศึกษาเพิ่มขึ้น 3,095 คน และจัด ให้เรียนร่วมกับเด็กปกติอีก 1,505 คน
รวม นักเรียนศึกษาพิเศษในปีการศึกษา 2540 คือ12,990 คน เป็นนักเรียนในโรงเรียนศึกษา พิเศษ 8,770 คน และนักเรียนพิการเรียนรวม
กับเด็กปกติตามแผนแม่บทปฏิรูปการศึกษา2538 จํานวนประมาณ 4,220 คน
1.3 ด้านการศึกษาสงเคราะห์ปีการศึกษา 2540 กรมสามัญศึกษา รับนักเรียนศึกษาสงเคราะห์เพิ่มขึ้น 9,884 คน รวมนักเรียนศึกษาสงเคราะห์ ปีการศึกษา 2540 จํานวน 32,100 คน
2. การช่วยเหลือนักเรียนในโครงการ ขยายโอกาสทางการศึกษา
2.1 ด้านการมัธยมศึกษาในปีการศึกษา 2540 นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ประมาณร้อยละ 60 จํานวน 1,035,000 คน ได้รับการช่วยเหลือ ค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการศึกษา โดยได้รับ ยกเว้นค่าบํารุงการศึกษา ได้รับหนังสือยืมเรียน นอกจากนี้ โรงเรียนยังจัดเสื้อผ้า บ้านพักนัก เรียน จัดรถรับส่งให้นักเรียนบางส่วน รวมทั้ง จัดให้มีโครงการเกษตรและการรวมกลุ่มกัน ประกอบอาชีพเพื่อหารายได้เป็นค่าใช้จ่าย ระหว่างเรียนด้วย
2.2 ด้านการศึกษาพิเศษ
จัดให้นักเรียนเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนศึกษาพิเศษ 41 โรง เป็นนักเรียนประจํา เกือบทั้งหมด โดยรัฐรับภาระการศึกษา ทั้งที่พัก อาหาร เสื้อผ้า และอุปกรณ์การเรียน นอก จากนี้ได้พยายามส่งเสริมให้มีทักษะอาชีพที่ เหมาะสมกับสภาพความพิการ และจัดสภาพ อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการ ศึกษา และการดํารงชีวิตของเยาวชนเหล่านี้
นอกจากการจัดบริการดังกล่าว กรม สามัญศึกษายังได้จัดให้มีศูนย์การศึกษาพิเศษอีก 5 ศูนย์ ตามแผนแม่บทการปฏิรูปการศึกษา2538 เป็นศูนย์ฟื้นฟูสภาพเด็กพิการ เพื่อเตรียมเด็กให้มีความพร้อมที่จะเข้าศึกษาใน โรงเรียนศึกษาพิเศษ และโรงเรียนเรียนร่วม
ซึ่งในส่วนของการจัดเรียนร่วม กรมสามัญศึกษา ได้ร่วมมือกับโรงเรียนในสังกัดและองค์กรอื่น 60 หน่วยงาน ในการจัดให้นักเรียนพิการได้ เรียนร่วมกับนักเรียนปกติ โดยจัดครูด้านนี้เป็น ผู้ช่วยเหลือและประสานงานในการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนที่จัดเรียนร่วม
นักเรียนพิการได้ เรียนร่วมกับนักเรียนปกติ โดยจัดครูด้านนี้เป็น ผู้ช่วยเหลือและประสานงานในการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนที่จัดเรียนร่วม
2.3 ด้านการศึกษาสงเคราะห์
จัดนักเรียนยากจนและด้อยโอกาสเข้า รับการศึกษาในโรงเรียนศึกษา
สงเคราะห์36 โรง เป็นนักเรียนประจําเกือบทั้งหมด โดยสนับสนุน ที่พัก อาหาร3มื้อ เสื้อผ้า และอุปกรณ์การเรียน เช่นเดียวกับนักเรียน ศึกษาพิเศษ โดยเน้นการพัฒนาความเป็นผู้นํา คุณธรรม จริยธรรม และการประกอบอาชีพที่ เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการประกอบ อาชีพเพื่อให้มีรายได้ในระหว่างเรียนด้วย
ด้านการพัฒนาอื่น
นอกจากการดําเนินการตามแผนแม่บทนโยบายการปฏิรูปการศึกษา2538 ของกระทรวงศึกษาธิการ กรมสามัญศึกษาได้ ดําเนินการในส่วนอื่นหลายประการที่สําคัญคือ
1. จัดกิจกรรมแก้ไขและป้องกันการติดสารเสพย์ติดของนักเรียน โดยการจัดประชุม สัมมนาผู้บริหารโรงเรียนและครู-อาจารย์ เพื่อ กําหนดแนวทางในการป้องกันแก้ไข รวมทั้ง อบรมนักเรียนแกนนําตามโครงการเพื่อนเตือน เพื่อน และได้ดําเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ ความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมให้ นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ศิลปะ ดนตรี กีฬา ฯลฯ
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยใน โรงเรียน ทั้งลักษณะกิจกรรม ชมรม ชุมนุม คณะกรรมการนักเรียน และกิจกรรมส่งเสริม บรรยากาศประชาธิปไตยในโรงเรียน
บันทึกโดย
ลูกสาว คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล
พันโทหญิง ฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล - ผู้พันปราง
ผู้หญิงคนแรกในรอบ 77 ปี
ผู้กล้าท้าชิงหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนที่ 9
โฆษกกระทรวงกลาโหมคนแรก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 21
โรงเรียนเป็นฐานเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ตอนที่ 2
การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นความจําเป็นเร่งด่วนอีกประการหนึ่งที่จะทําให้ แผนการปฏิรูปการศึกษา2538บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ต้องการ เพราะ ครูเป็นบุคลากรที่มีความสําคัญที่สุดในกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณ ลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยความสําคัญดังกล่าว จึงได้กําหนดให้การปฏิรูปครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นแนวปฏิบัติ สําคัญในการปฏิรูปการศึกษาแนวทางหนึ่ง
เพราะสภาพของสังคมเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน์ แผนแม่บทการปฏิรูปการศึกษา2538 จึงได้กําหนดแนวทางจัดการศึกษาและ จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับสภาพที่ เปลี่ยนแปลงไป
ด้วยการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้สามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบอย่างเหมาะสมกับยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา2538 ในปีงบ ประมาณ 2540 กรมสามัญศึกษาได้พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา แล้วประมาณ 95,000 คน ได้รับงบประมาณสนับสนุนตามแผนแม่บทปฏิรูปการศึกษา2538 ทั้งสิ้น 51.207 ล้านบาท การดําเนินการที่สําคัญ คือ
1. จัดประชุมปฏิบัติการปรับกระบวนทัศน์ และแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ 604 คน ผู้บริหาร โรงเรียน 2,542 คน และครูผู้สอน 75,270 คน
2. อบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 4,320 คน
3. อบรมครูที่สอนไม่ตรงวุฒิในวิชาขาดแคลน 1,300 คน
4. อบรมครูภาษาต่างประเทศ 1,826 คน
5. อบรมการผลิตสื่อขั้นพื้นฐานให้แก่ครู 280 คน
6. อบรมการบํารุงรักษา และปรับซ่อม เครื่องใช้สํานักงาน 300 คน
7. อบรมเจ้าหน้าที่พัสดุโรงเรียน และ สํานักงานสามัญศึกษาจังหวัด 600 คน
8. อบรมเจ้าหน้าที่การเงินของโรงเรียน 182 คน
9. อบรมครูแนะแนวและครูอนามัยของ โรงเรียน 680 คน
10. อบรมครูและบุคลากรโรงเรียนศึกษา พิเศษ 4,030 คน
11. อบรมการใช้คอมพิวเตอร์แก่ครู โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และศึกษาพิเศษ 90 คน
12. อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการ ออกแบบก่อสร้าง 80 คน
13. ประชุมสัมมนาผู้บริหารโรงเรียน มัธยมศึกษาและหัวหน้าหน่วยงาน 2,865 คน
นอกจากการอบรมข้างต้น จังหวัดกลุ่มโรงเรียนและโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ได้จัดอบรมครูส่วนที่เหลือทุกคน เพื่อพัฒนา ทักษะการจัดการเรียนการสอน โดยยึดนักเรียน เป็นศูนย์กลาง และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ จัดการเรียนการสอน การพัฒนาบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียน
การพัฒนาบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่เกื้อหนุนให้ การอภิวัฒน์การศึกษา2538 มีความเป็นรูปธรรมและประสบความสําเร็จได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในโลกยุคสังคม ข่าวสารหรือสังคมแห่งการเรียนรู้ โรงเรียนหรือสถานศึกษาจะต้องจัดข่าวสารข้อมูล และ บรรยากาศที่เอื้อให้นักเรียนได้รับรู้ข่าวสารข้อมูล ด้านต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับสังคมภายนอกและ สังคมโลก
รวมทั้งให้มีบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถ แสวงหาความรู้ด้านต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองอย่าง เหมาะสม หลากหลาย และต่อเนื่อง โดยส่งเสริมให้โรงเรียนจัดบรรยากาศการเรียนรู้อย่าง กว้างขวางและหลากหลายทั้งในและนอกห้อง เรียน เช่น การจัดห้องสมุดแบบสหวิทยาการให้มีสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เช่น อินเทอร์เนต ซีดีรอม บทเรียนสําเร็จรูป โดยจัดงบประมาณเป็นพิเศษให้โรงเรียนที่มีห้อง สมุดกาญจนาภิเษก 1,159 โรง รวม 43.205 ล้านบาท และจัดหนังสือและสื่ออื่น ๆ ให้โรง เรียนอีก 62.782 ล้านบาท จัดอาคาร สถานที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองในโรงเรียน เช่น มุมความรู้ ป้ายนิเทศ สวนหย่อม สวนป่า สวนพืชสมุนไพร พืชในวรรณคดี ตามแนวทาง อุทยานการศึกษา โดยสอดแทรกข้อมูลข่าวสาร และความรู้ควบคู่กับความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม จัดกิจกรรมประกวด แข่งขัน การแสดงผลงาน ทางวิชาการด้านต่างๆ สลับหมุนเวียนตลอดปี จัดเครือข่ายโสตทัศนศึกษา เช่น โทรทัศน์วงจร ปิด ทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน และการ จัดข่าวสารข้อมูลด้านต่าง ๆ ให้แก่นักเรียนได้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องและทันสมัย
การพัฒนาการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
การจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยการจัดมวลประสบการณ์ที่เหมาะสมจะช่วย ปลูกฝัง หล่อหลอม และพัฒนาผู้เรียนให้มี ลักษณะที่พึงประสงค์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ให้นักเรียนได้รับผิดชอบ ลงมือปฏิบัติ และค้นพบ คําตอบได้ด้วยตนเอง หรือการจัดการเรียนการ สอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เป็นกระบวน การจัดการเรียนการสอนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และพัฒนาการด้าน อื่น ๆ ที่ยั่งยืนและเหมาะสม
กรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดกรมสามัญศึกษา จัดการเรียนการสอนตามแผนแม่บทนโยบายการปฏิรูปการศึกษา2538
1. จัดประชุมอบรมสัมมนาเพื่อปรับ กระบวนทัศน์ พัฒนาความรู้และทักษะการ จัดการเรียนการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์ กลางให้แก่บุคลากรรวม 76,452 คน ประกอบ ด้วย ศึกษานิเทศก์ 604 คน ผู้บริหารโรงเรียน 2,542 คน และครูผู้สอน 75,270 คน
2. ผลิตสื่อและนวัตกรรมส่งเสริมการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์ กลาง 13 รูปแบบ จํานวน 35,110 เล่ม แจก จ่ายทั่วประเทศ
3. ผลิตบทเรียนสําเร็จรูป 20 เรื่อง และทําสําเนาส่งให้โรงเรียนทั่วประเทศ
4. โรงเรียน 2,542 โรง จัดประสบการณ์ การเรียนรู้โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
การขยายโอกาสทางการศึกษา
แผนแม่บทนโยบายการปฏิรูปการศึกษา2538 ได้กำหนดแนวทางการขยายโอกาสทางการศึกษาไว้อย่างแน่ชัดว่า จะขยายโอกาสทางการศึกษากับเยาวชนทุกคน เพราะตระหนักดีว่าการศึกษาคือปัจจัยสําคัญ ในการพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ดังนั้นเยาวชนทุกคนจึงควรได้รับการศึกษา
อย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อการดํารงชีวิตอยู่ ในสังคมอย่างมีความสุข
ด้วยความสําคัญของ การศึกษาดังกล่าว กรมสามัญศึกษาจึงได้พยายามรณรงค์เพื่อให้นักเรียนได้เข้ารับการ ศึกษาในโรงเรียนในสังกัดตามเป้าหมายที่ กระทรวงศึกษาธิการกําหนดให้ด้วยการดําเนิน การขยายโอกาสทางการศึกษาในหลายๆ ส่วน ดังนี้
1. การรับนักเรียนปี 2540
1.1 ด้านการมัธยมศึกษา
ในปีการศึกษา 2540 กรมสามัญศึกษารับนักเรียนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ได้จํานวน 627,011 คน คิดเป็นร้อยละ 97.05 ของแผนแม่บทปฏิรูปการศึกษา2538 และรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้จํานวน 354,160 คน คิดเป็นร้อยละ 100.08 ของแผน
รวมจํานวนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ของกรมสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2540 มีทั้ง สิ้น 2,634,538 คน เป็นนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น 1,728,268 คน และนักเรียนมัธยม ศึกษาตอนปลาย 876,270 คน
1.2 ด้านการศึกษาพิเศษ
ในปีการศึกษา 2540 กรมสามัญศึกษาจัดให้นักเรียนที่มีความพิการทุกประเภทเข้ารับการศึกษาเพิ่มขึ้น 3,095 คน และจัด ให้เรียนร่วมกับเด็กปกติอีก 1,505 คน
รวม นักเรียนศึกษาพิเศษในปีการศึกษา 2540 คือ12,990 คน เป็นนักเรียนในโรงเรียนศึกษา พิเศษ 8,770 คน และนักเรียนพิการเรียนรวม
กับเด็กปกติตามแผนแม่บทปฏิรูปการศึกษา2538 จํานวนประมาณ 4,220 คน
1.3 ด้านการศึกษาสงเคราะห์ปีการศึกษา 2540 กรมสามัญศึกษา รับนักเรียนศึกษาสงเคราะห์เพิ่มขึ้น 9,884 คน รวมนักเรียนศึกษาสงเคราะห์ ปีการศึกษา 2540 จํานวน 32,100 คน
2. การช่วยเหลือนักเรียนในโครงการ ขยายโอกาสทางการศึกษา
2.1 ด้านการมัธยมศึกษาในปีการศึกษา 2540 นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ประมาณร้อยละ 60 จํานวน 1,035,000 คน ได้รับการช่วยเหลือ ค่าใช้จ่ายในการเข้ารับการศึกษา โดยได้รับ ยกเว้นค่าบํารุงการศึกษา ได้รับหนังสือยืมเรียน นอกจากนี้ โรงเรียนยังจัดเสื้อผ้า บ้านพักนัก เรียน จัดรถรับส่งให้นักเรียนบางส่วน รวมทั้ง จัดให้มีโครงการเกษตรและการรวมกลุ่มกัน ประกอบอาชีพเพื่อหารายได้เป็นค่าใช้จ่าย ระหว่างเรียนด้วย
2.2 ด้านการศึกษาพิเศษ
จัดให้นักเรียนเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนศึกษาพิเศษ 41 โรง เป็นนักเรียนประจํา เกือบทั้งหมด โดยรัฐรับภาระการศึกษา ทั้งที่พัก อาหาร เสื้อผ้า และอุปกรณ์การเรียน นอก จากนี้ได้พยายามส่งเสริมให้มีทักษะอาชีพที่ เหมาะสมกับสภาพความพิการ และจัดสภาพ อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการ ศึกษา และการดํารงชีวิตของเยาวชนเหล่านี้
นอกจากการจัดบริการดังกล่าว กรม สามัญศึกษายังได้จัดให้มีศูนย์การศึกษาพิเศษอีก 5 ศูนย์ ตามแผนแม่บทการปฏิรูปการศึกษา2538 เป็นศูนย์ฟื้นฟูสภาพเด็กพิการ เพื่อเตรียมเด็กให้มีความพร้อมที่จะเข้าศึกษาใน โรงเรียนศึกษาพิเศษ และโรงเรียนเรียนร่วม
ซึ่งในส่วนของการจัดเรียนร่วม กรมสามัญศึกษา ได้ร่วมมือกับโรงเรียนในสังกัดและองค์กรอื่น 60 หน่วยงาน ในการจัดให้นักเรียนพิการได้ เรียนร่วมกับนักเรียนปกติ โดยจัดครูด้านนี้เป็น ผู้ช่วยเหลือและประสานงานในการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนที่จัดเรียนร่วม
นักเรียนพิการได้ เรียนร่วมกับนักเรียนปกติ โดยจัดครูด้านนี้เป็น ผู้ช่วยเหลือและประสานงานในการจัดการเรียน การสอนในโรงเรียนที่จัดเรียนร่วม
2.3 ด้านการศึกษาสงเคราะห์
จัดนักเรียนยากจนและด้อยโอกาสเข้า รับการศึกษาในโรงเรียนศึกษา
สงเคราะห์36 โรง เป็นนักเรียนประจําเกือบทั้งหมด โดยสนับสนุน ที่พัก อาหาร3มื้อ เสื้อผ้า และอุปกรณ์การเรียน เช่นเดียวกับนักเรียน ศึกษาพิเศษ โดยเน้นการพัฒนาความเป็นผู้นํา คุณธรรม จริยธรรม และการประกอบอาชีพที่ เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการประกอบ อาชีพเพื่อให้มีรายได้ในระหว่างเรียนด้วย
ด้านการพัฒนาอื่น
นอกจากการดําเนินการตามแผนแม่บทนโยบายการปฏิรูปการศึกษา2538 ของกระทรวงศึกษาธิการ กรมสามัญศึกษาได้ ดําเนินการในส่วนอื่นหลายประการที่สําคัญคือ
1. จัดกิจกรรมแก้ไขและป้องกันการติดสารเสพย์ติดของนักเรียน โดยการจัดประชุม สัมมนาผู้บริหารโรงเรียนและครู-อาจารย์ เพื่อ กําหนดแนวทางในการป้องกันแก้ไข รวมทั้ง อบรมนักเรียนแกนนําตามโครงการเพื่อนเตือน เพื่อน และได้ดําเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ ความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมให้ นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ศิลปะ ดนตรี กีฬา ฯลฯ
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยใน โรงเรียน ทั้งลักษณะกิจกรรม ชมรม ชุมนุม คณะกรรมการนักเรียน และกิจกรรมส่งเสริม บรรยากาศประชาธิปไตยในโรงเรียน
บันทึกโดย
ลูกสาว คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล
พันโทหญิง ฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล - ผู้พันปราง
ผู้หญิงคนแรกในรอบ 77 ปี
ผู้กล้าท้าชิงหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนที่ 9
โฆษกกระทรวงกลาโหมคนแรก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 21