พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรมนั้น สรุปได้ ๒ อย่าง คือ
๑. แสดงหลักความจริงสายกลาง ที่เรียกว่า “มัชเฌนธรรม” หรือเรียกเต็มว่า “มัชเฌนธรรมเทศนา” ว่าด้วยความจริงตามแนวของเหตุผลบริสุทธิ์ตามกระบวนการของธรรมชาติ นำมาแสดงเพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตจริงเท่านั้น ไม่ส่งเสริมความพยายามที่จะเข้าถึงสัจธรรมด้วยวิธีถกเถียงสร้างทฤษฎีต่างๆ ขึ้นแล้วยึดมั่นปกป้องทฤษฎีนั้นๆ ด้วยการเก็งความจริงทางปรัชญา
๒. แสดงข้อปฏิบัติสายกลาง ที่เรียกว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” อันเป็นหลักการครองชีวิตของผู้ฝึกอบรมตน ผู้รู้เท่าทันชีวิต ไม่หลงงมงาย มุ่งผลสำเร็จคือ ความสุข สะอาด สว่าง สงบ เป็นอิสระ ที่สามารถมองเห็นได้ในชีวิตนี้ ในทางปฏิบัติ ความเป็นสายกลางนี้เป็นไปโดยสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น สภาพชีวิตของบรรพชิต หรือคฤหัสถ์ เป็นต้น
หมายเหตุ ::
หนังสือเล่มนี้มีการเพิ่มเติมหรือปรับปรุงข้อมูลใหม่ ตามโอกาส
ผู้อ่าน ผู้ศึกษา พึงติดตามดูข้อมูลล่าสุดในเว็บไซต์วัดญาณเวศกวัน หรือ คลิก เพื่ออ่านหนังสือ "พุทธธรรมออนไลน์"
พร้อมระบบเชื่อมโยงพระไตรปิฎกและพจนานุกรม
คลิกที่นี่ เพื่อเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์หนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
คลิกที่นี่เพื่ออ่าน พุทธธรรมออนไลน์
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดหนังสือ พจนานุกรมฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม ภาค ไทย-อังกฤษ และอังกฤษ-ไทย (Dictionary of Buddhism)
คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดพจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม
คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎกสิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
ไฟล์ pdf และเสียงอ่าน หนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย นิพนธ์โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตฺโต
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรมนั้น สรุปได้ ๒ อย่าง คือ
๑. แสดงหลักความจริงสายกลาง ที่เรียกว่า “มัชเฌนธรรม” หรือเรียกเต็มว่า “มัชเฌนธรรมเทศนา” ว่าด้วยความจริงตามแนวของเหตุผลบริสุทธิ์ตามกระบวนการของธรรมชาติ นำมาแสดงเพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตจริงเท่านั้น ไม่ส่งเสริมความพยายามที่จะเข้าถึงสัจธรรมด้วยวิธีถกเถียงสร้างทฤษฎีต่างๆ ขึ้นแล้วยึดมั่นปกป้องทฤษฎีนั้นๆ ด้วยการเก็งความจริงทางปรัชญา
๒. แสดงข้อปฏิบัติสายกลาง ที่เรียกว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” อันเป็นหลักการครองชีวิตของผู้ฝึกอบรมตน ผู้รู้เท่าทันชีวิต ไม่หลงงมงาย มุ่งผลสำเร็จคือ ความสุข สะอาด สว่าง สงบ เป็นอิสระ ที่สามารถมองเห็นได้ในชีวิตนี้ ในทางปฏิบัติ ความเป็นสายกลางนี้เป็นไปโดยสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น สภาพชีวิตของบรรพชิต หรือคฤหัสถ์ เป็นต้น
หมายเหตุ ::
หนังสือเล่มนี้มีการเพิ่มเติมหรือปรับปรุงข้อมูลใหม่ ตามโอกาส
ผู้อ่าน ผู้ศึกษา พึงติดตามดูข้อมูลล่าสุดในเว็บไซต์วัดญาณเวศกวัน หรือ คลิก เพื่ออ่านหนังสือ "พุทธธรรมออนไลน์"
พร้อมระบบเชื่อมโยงพระไตรปิฎกและพจนานุกรม
คลิกที่นี่ เพื่อเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์หนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
คลิกที่นี่เพื่ออ่าน พุทธธรรมออนไลน์
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดหนังสือ พจนานุกรมฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม ภาค ไทย-อังกฤษ และอังกฤษ-ไทย (Dictionary of Buddhism)
คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดพจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม
คลิกที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดหนังสือพระไตรปิฎกสิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้