การประกาศแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2494 ซึ่งเป็นการขยายให้การศึกษาภาคบังคับไปสู่ภูมิภาค และไม่มีอาหารกลางวัน
ปี2531 นางงามจักรวาลคนที่2 ของประเทศไทย ให้สัมภาษณ์บนเวที ณ นครลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา ว่า เด็กไทยขาดสารอาหารตายปีละหลายหมื่นคน จึงเกิดโครงการแด่น้องผู้หิวโหย และมีการทำคลิปแซะ การประกวดนางงาม
เมืองไทยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว
มีทุกข์ในเรือนกาย มีความตายในดวงตา
น้ำนมแห่งมารดา ในสายเลือดยังเหือดหาย
ทุกคำคือชีวิต ทุกชีวิตมาเรียงราย
คือคนที่เกิดกาย มาร่วมถิ่นแผ่นดินเดียว
ริ้วรี้ใช่แพรพรรณ เป็นริ้วอันซี่โครงเรียว
ขานี้ใช่ขาเปรียว ที่เดินอวดประกวดกัน
ดินเอ๋ยโอ้ดินนี้ ยังพอมีให้แบ่งปัน
เพียงเพื่อได้อิ่มวัน มิรู้อันตรายมี
ซูบซีดและเหลืองเซียว ดูแห้งเหี่ยวไม่มีดี
อย่างนี้มานานปี ที่ยากไร้แต่ไรมา
แด่น้องผู้หิวโหย เพียงท่านโปรยความเมตตา
น้อยหนึ่งนะกรุณา ต่อชีวา...ตาดำดำ
วิสา คัญทัพ
จนกระทั่งปี 2538 ประเทศไทยมีประชาชน 58.2 ล้านคน 48.7 ล้านเป็นเกษตรกรยากจนอาศัยในบท เพราะกระทรวงศึกษาธิการยังไม่สามารถจัดบริการการศึกษา 6 ปี ไม่มีอาหารกลางวัน ได้ทั่วถึง ส่งผลให้มีเด็กอายุ 3-17 ปี 4.35 ล้านคน นอกระบบการศึกษา
เริ่มตั้งแต่กรกฎาคม 2538 คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงลงพื้นที่ รับฟัง รับทราบ ความยากลำบากของครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศไทย รวม 150 วัน
จึงประกาศใช้แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์ 2538 :เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่21 เพื่อให้คนไทยได้รับสิทธิ์ การศึกษา 12 ปี พร้อมอุปกรณ์ และอาหารอย่างน้อย 1 มื้อ( เพื่อให้ฟรีจริง ในยุคนั้นจึงมีรถรับส่ง หรืออาหาร3มื้อในโรงเรียนประจำ) ตั้งแต่ ธันวาคม 2538
การปฏิรูปการศึกษา2538 ถูกคัดค้านด้วยนักการศึกษาบางคนซึ่งเรียกตนเองว่านักปฏิรูปการศึกษาไทย แต่ไม่สามารถหาวิธีจัดบริการการศึกษาทั่วถึงให้ประชาชนตั้งแต่ปี 2494 มีการเขียนหนังสือยกย่องกันและกัน หาหลักฐานได้ตามร้านหนังสือและห้องสมุด ส่งผลให้สังคมสับสนว่าพวกเขาคือนักปฏิรูปการศึกษาไทย และครอบงำหาผลประโยชน์และชื่อเสียง กระทรวงศึกษาธิการต่อเนื่องยาวนาน
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงร่วมมือกับ เลขาธิการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่7
{เนื่องจากดร.พิสิฏฐ์ ภัคเกษมเลขาธิการสภาพัฒน์ฯ ประสบความสำเร็จในการทำงาน กับคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยคนที่ 5 ประธานองค์การรถไฟฟ้ามหานครคนที่3 และ รองนายกรัฐมนตรี ในโครงการการศึกษาความเป็นไปได้ ระบบรถไฟความเร็วสูง 2537
รวมทั้งผลักดันมติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม2537 ก่อนจัดทำแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล2537 เพราะทราบดีว่า ฝ่ายต้องการให้สัมปทานไม่สามารถ จัดทำแผนแม่บทได้เป็น เพราะได้รับสัมปทานตั้งแต่ปี 2535 แต่ไม่สามารถเริ่มก่อสร้าง เพราะจะมีปัญหาเช่นเดียวกับ ลาวาลิน และ โฮปเวลล์
ในที่สุดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองส่งผลให้ประเทศไทยต้องมี BTS หรือ MRTสายสีเขียวบนดินเพราะให้สัมปทานเอกชน ส่วนที่เป็นไข่แดง(กำไรสูงสุด) และ สายสีทองบนดินเนื่องจากให้เอกชนสร้าง เนื่องจากเอกชนมีราคาต้นทุนสูงกว่า ทั้งดอกเบี้ยเงินกู้และคิดกำไร แม้ว่าราคาค่าก่อสร้างรถไฟใต้ดินมากกว่าบนดิน แต่ไม่จำเป็นต้องผลักภาระให้ประชาชน เนื่องจากรัฐบาลเป็นเจ้าของ
ดร.พิสิฏฐ์ ในฐานะเลขาธิการสภาพัฒน์ฯ จึงให้ความร่วมมือการแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่7 เพื่อแก้ไขปัญหาให้ประชาชนอีกครั้ง เนื่องจากตระหนักดีว่า การพัฒนาประเทศตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับที่1 จนกระทั่งถึงปี 2538 ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำ เนื่องจาก ไม่มีการลงทุนในการพัฒนาคน จึงทำให้เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา และการพัฒนาไม่ยั่งยืน อย่างไรก้อตามการปรับแผนจากส่วนกลางมีปัญหาในการปฏิบัติในท้องถิ่นต่างๆ เนื่องจากมีความแตกต่างกันมาก
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงคิดกระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
โดยมีครูและบุคลากรทางการศึกษาทั่วประเทศ นักเรียน ผู้ปกครอง เอกชน ประชาชน สภาพัฒน์ฯ และกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมแรงร่วมใจกัน จัดทำแผนพัฒนาฯฉบับที่8เป็น ซึ่งเป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา
เป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่8คือ
ประเทศไทยจะเป็นประเทศพัฒนาแล้วในปี2020 หรือ 25 ปีจากปี 1995 (2538-2563=25 ปี)
1)เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกทั้งในแง่บวกและลบ การพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการเตรียมการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคมไทยใหม่ให้เข้มแข็งพร้อมรับสถานการณ์ในอนาคต
จึงจะสามารถช่วงชิงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในประชาคมโลกมาใช้เป็นแรงผลักดันในการพัฒนาประเทศไทยให้สอดคล้องกับพื้นฐานของวัฒนธรรมไทยและตรงกับความต้องการของคนไทย
2)ทั้งนี้เพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปสู่ความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2020 (พ.ศ. 2563) โดยเศรษฐกิจไทยจะมีขนาดเป็นลำดับ 8 ของโลก
คนไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวไม่ต่ำกว่า 300,000 บาทต่อปี หรือ ประมาณ 12,000เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งวัด ณ ระดับราคาปี 2536
สัดส่วนคนยากจนจะลดลงต่ำกว่าร้อยละ 5 ควบคู่กันไปกับการมีคุณภาพชีวิตดีของประชาชนส่วนใหญ่ ดังรายละเอียดซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันกำหนดขึ้นเป็นวิสัยทัศน์สังคมไทยพึงประสงค์ในอีก 25 ปีข้างหน้า ดังนี้
3)ในปี2020 สังคมไทยจะเป็นสังคมซึ่งมีความเป็นปึกแผ่น มีความภูมิใจในความเป็นไทยและดำรงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีความมั่นคง สงบสุข สันติกับนานาชาติ
ประเทศไทยได้รับการยกย่องเป็นประเทศระดับแนวหน้าในประชาคมโลก เป็นสังคมที่คนมีความสุข อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
สังคมมีสมรรถภาพ มีเสถียรภาพ มีความเสมอภาค มีความยุติธรรม มีระเบียบวินัย มีความเมตตากรุณา เคารพในสิทธิมนุษยชน มีหลักธรรมของศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิตของคนไทย
4)ประชาชนทุกคนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเองมากขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และมีส่วนร่วมอย่างเต็มภาคภูมิในกระบวนการพัฒนาประเทศ
เด็กไทยทุกคนจะได้รับการดูแลเอาใจใส่ด้านสุขภาพตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ได้รับสารอาหารครบถ้วนตั้งแต่ปฐมวัย รวมทั้งได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมที่มีคุณภาพ
5)คนไทยมีขีดความสามารถพร้อมที่จะปรับตัวเพื่อรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้
คนไทยวัยหนุ่มสาวได้รับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของคนในกลุ่มอายุ 18 - 24 ปี
กลุ่มคนผู้ขาดโอกาสในสังคมได้รับบริการทางการศึกษาและการมีงานทำอย่างทั่วถึงถ้วนหน้า
คนไทยจะมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ รู้จักตัวเอง รู้เท่าทันโลก และมีศักยภาพที่จะปรับตัวเองอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าตลอดทุกช่วงวัยของชีวิต
6)เศรษฐกิจตั้งอยู่บนรากฐานของความสร้างสรรค์ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสำคัญในภูมิภาค
ทั้งในด้านการผลิต การคมนาคม การเงิน การท่องเที่ยว และบริการ มีระบบการค้าขายแบบเสรีที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม
ทันโลกทางด้านเทคโนโลยี และนำโลกในมิติที่ประเทศไทยมีความเป็นเลิศ
มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ โดยมีความสมดุลกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นฐานการจ้างงานและสร้างโอกาสในการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมทั่วหน้าทุกกลุ่มประชาชนทุกพื้นที่
7)ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในภูมิภาคและชนบทไม่แตกต่างจากคนในเมืองหลวง
คือได้รับบริการโครงสร้างพื้นฐานและบริการพื้นฐานทางสังคมซึ่งจำเป็นอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง
มีหลักประกันด้านสุขภาพอนามัย สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวกด้วยเครือข่ายระบบโทรคมนาคมและขนส่งซึ่งครอบคลุมทุกพื้นที่ อย่างเท่าเทียมทั่วถึง ทั่วประเทศไทย
มีโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพได้อย่างเสรี และใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8)ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษา บริหารจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของคนในปี2538
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
9)มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
และ แผนแม่บททางหลวงระหว่างเมือง 13 สาย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมษายน 2540
รัฐธรรมนูญ2540แก้ไขปัญหาของประเทศไทยในชนบทซึ่งเคยต้องตัดสินด้วยปืนแทนกฎหมาย ด้วยการกำหนดให้ประเทศไทยต้องออกกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540 ในทุกด้าน หรือการปฏิรูปประเทศไทยนั่นเอง
ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540ด้านสุขภาพ2544 หรือ30บาทรักษาทุกโรค
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
8)มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 คือจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 ระหว่าง26 ธันวาคม2539 - 11 ตุลาคม2540
และ แผนแม่บททางหลวงระหว่างเมือง 13 สาย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมษายน 2540
รัฐธรรมนูญ2540แก้ไขปัญหาของประเทศไทยในชนบทซึ่งเคยต้องตัดสินด้วยปืนแทนกฎหมาย ด้วยการกำหนดให้ประเทศไทยต้องออกกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540 ในทุกด้าน หรือการปฏิรูปประเทศไทยนั่นเอง
ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540ด้านสุขภาพ2544 หรือ30บาทรักษาทุกโรค
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
8)มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
Timeline แด่น้องผู้หิวโหย ถึง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
ปี2531 นางงามจักรวาลคนที่2 ของประเทศไทย ให้สัมภาษณ์บนเวที ณ นครลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา ว่า เด็กไทยขาดสารอาหารตายปีละหลายหมื่นคน จึงเกิดโครงการแด่น้องผู้หิวโหย และมีการทำคลิปแซะ การประกวดนางงาม
เมืองไทยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว
มีทุกข์ในเรือนกาย มีความตายในดวงตา
น้ำนมแห่งมารดา ในสายเลือดยังเหือดหาย
ทุกคำคือชีวิต ทุกชีวิตมาเรียงราย
คือคนที่เกิดกาย มาร่วมถิ่นแผ่นดินเดียว
ริ้วรี้ใช่แพรพรรณ เป็นริ้วอันซี่โครงเรียว
ขานี้ใช่ขาเปรียว ที่เดินอวดประกวดกัน
ดินเอ๋ยโอ้ดินนี้ ยังพอมีให้แบ่งปัน
เพียงเพื่อได้อิ่มวัน มิรู้อันตรายมี
ซูบซีดและเหลืองเซียว ดูแห้งเหี่ยวไม่มีดี
อย่างนี้มานานปี ที่ยากไร้แต่ไรมา
แด่น้องผู้หิวโหย เพียงท่านโปรยความเมตตา
น้อยหนึ่งนะกรุณา ต่อชีวา...ตาดำดำ
วิสา คัญทัพ
จนกระทั่งปี 2538 ประเทศไทยมีประชาชน 58.2 ล้านคน 48.7 ล้านเป็นเกษตรกรยากจนอาศัยในบท เพราะกระทรวงศึกษาธิการยังไม่สามารถจัดบริการการศึกษา 6 ปี ไม่มีอาหารกลางวัน ได้ทั่วถึง ส่งผลให้มีเด็กอายุ 3-17 ปี 4.35 ล้านคน นอกระบบการศึกษา
เริ่มตั้งแต่กรกฎาคม 2538 คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงลงพื้นที่ รับฟัง รับทราบ ความยากลำบากของครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศไทย รวม 150 วัน
จึงประกาศใช้แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์ 2538 :เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยสำหรับศตวรรษที่21 เพื่อให้คนไทยได้รับสิทธิ์ การศึกษา 12 ปี พร้อมอุปกรณ์ และอาหารอย่างน้อย 1 มื้อ( เพื่อให้ฟรีจริง ในยุคนั้นจึงมีรถรับส่ง หรืออาหาร3มื้อในโรงเรียนประจำ) ตั้งแต่ ธันวาคม 2538
การปฏิรูปการศึกษา2538 ถูกคัดค้านด้วยนักการศึกษาบางคนซึ่งเรียกตนเองว่านักปฏิรูปการศึกษาไทย แต่ไม่สามารถหาวิธีจัดบริการการศึกษาทั่วถึงให้ประชาชนตั้งแต่ปี 2494 มีการเขียนหนังสือยกย่องกันและกัน หาหลักฐานได้ตามร้านหนังสือและห้องสมุด ส่งผลให้สังคมสับสนว่าพวกเขาคือนักปฏิรูปการศึกษาไทย และครอบงำหาผลประโยชน์และชื่อเสียง กระทรวงศึกษาธิการต่อเนื่องยาวนาน
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงร่วมมือกับ เลขาธิการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่7
{เนื่องจากดร.พิสิฏฐ์ ภัคเกษมเลขาธิการสภาพัฒน์ฯ ประสบความสำเร็จในการทำงาน กับคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยคนที่ 5 ประธานองค์การรถไฟฟ้ามหานครคนที่3 และ รองนายกรัฐมนตรี ในโครงการการศึกษาความเป็นไปได้ ระบบรถไฟความเร็วสูง 2537
รวมทั้งผลักดันมติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม2537 ก่อนจัดทำแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล2537 เพราะทราบดีว่า ฝ่ายต้องการให้สัมปทานไม่สามารถ จัดทำแผนแม่บทได้เป็น เพราะได้รับสัมปทานตั้งแต่ปี 2535 แต่ไม่สามารถเริ่มก่อสร้าง เพราะจะมีปัญหาเช่นเดียวกับ ลาวาลิน และ โฮปเวลล์
ในที่สุดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองส่งผลให้ประเทศไทยต้องมี BTS หรือ MRTสายสีเขียวบนดินเพราะให้สัมปทานเอกชน ส่วนที่เป็นไข่แดง(กำไรสูงสุด) และ สายสีทองบนดินเนื่องจากให้เอกชนสร้าง เนื่องจากเอกชนมีราคาต้นทุนสูงกว่า ทั้งดอกเบี้ยเงินกู้และคิดกำไร แม้ว่าราคาค่าก่อสร้างรถไฟใต้ดินมากกว่าบนดิน แต่ไม่จำเป็นต้องผลักภาระให้ประชาชน เนื่องจากรัฐบาลเป็นเจ้าของ
ดร.พิสิฏฐ์ ในฐานะเลขาธิการสภาพัฒน์ฯ จึงให้ความร่วมมือการแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่7 เพื่อแก้ไขปัญหาให้ประชาชนอีกครั้ง เนื่องจากตระหนักดีว่า การพัฒนาประเทศตั้งแต่แผนพัฒนาฉบับที่1 จนกระทั่งถึงปี 2538 ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำ เนื่องจาก ไม่มีการลงทุนในการพัฒนาคน จึงทำให้เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา และการพัฒนาไม่ยั่งยืน อย่างไรก้อตามการปรับแผนจากส่วนกลางมีปัญหาในการปฏิบัติในท้องถิ่นต่างๆ เนื่องจากมีความแตกต่างกันมาก
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงคิดกระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
โดยมีครูและบุคลากรทางการศึกษาทั่วประเทศ นักเรียน ผู้ปกครอง เอกชน ประชาชน สภาพัฒน์ฯ และกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมแรงร่วมใจกัน จัดทำแผนพัฒนาฯฉบับที่8เป็น ซึ่งเป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา
เป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่8คือ
ประเทศไทยจะเป็นประเทศพัฒนาแล้วในปี2020 หรือ 25 ปีจากปี 1995 (2538-2563=25 ปี)
1)เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกทั้งในแง่บวกและลบ การพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการเตรียมการจัดระเบียบทางเศรษฐกิจและสังคมไทยใหม่ให้เข้มแข็งพร้อมรับสถานการณ์ในอนาคต
จึงจะสามารถช่วงชิงโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงในประชาคมโลกมาใช้เป็นแรงผลักดันในการพัฒนาประเทศไทยให้สอดคล้องกับพื้นฐานของวัฒนธรรมไทยและตรงกับความต้องการของคนไทย
2)ทั้งนี้เพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปสู่ความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วภายในปี 2020 (พ.ศ. 2563) โดยเศรษฐกิจไทยจะมีขนาดเป็นลำดับ 8 ของโลก
คนไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวไม่ต่ำกว่า 300,000 บาทต่อปี หรือ ประมาณ 12,000เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งวัด ณ ระดับราคาปี 2536
สัดส่วนคนยากจนจะลดลงต่ำกว่าร้อยละ 5 ควบคู่กันไปกับการมีคุณภาพชีวิตดีของประชาชนส่วนใหญ่ ดังรายละเอียดซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันกำหนดขึ้นเป็นวิสัยทัศน์สังคมไทยพึงประสงค์ในอีก 25 ปีข้างหน้า ดังนี้
3)ในปี2020 สังคมไทยจะเป็นสังคมซึ่งมีความเป็นปึกแผ่น มีความภูมิใจในความเป็นไทยและดำรงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ มีความมั่นคง สงบสุข สันติกับนานาชาติ
ประเทศไทยได้รับการยกย่องเป็นประเทศระดับแนวหน้าในประชาคมโลก เป็นสังคมที่คนมีความสุข อยู่ในครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
สังคมมีสมรรถภาพ มีเสถียรภาพ มีความเสมอภาค มีความยุติธรรม มีระเบียบวินัย มีความเมตตากรุณา เคารพในสิทธิมนุษยชน มีหลักธรรมของศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิตของคนไทย
4)ประชาชนทุกคนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเองมากขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และมีส่วนร่วมอย่างเต็มภาคภูมิในกระบวนการพัฒนาประเทศ
เด็กไทยทุกคนจะได้รับการดูแลเอาใจใส่ด้านสุขภาพตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ได้รับสารอาหารครบถ้วนตั้งแต่ปฐมวัย รวมทั้งได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 12 ปี และทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมที่มีคุณภาพ
5)คนไทยมีขีดความสามารถพร้อมที่จะปรับตัวเพื่อรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับที่สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้
คนไทยวัยหนุ่มสาวได้รับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของคนในกลุ่มอายุ 18 - 24 ปี
กลุ่มคนผู้ขาดโอกาสในสังคมได้รับบริการทางการศึกษาและการมีงานทำอย่างทั่วถึงถ้วนหน้า
คนไทยจะมีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถ รู้จักตัวเอง รู้เท่าทันโลก และมีศักยภาพที่จะปรับตัวเองอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าตลอดทุกช่วงวัยของชีวิต
6)เศรษฐกิจตั้งอยู่บนรากฐานของความสร้างสรรค์ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสำคัญในภูมิภาค
ทั้งในด้านการผลิต การคมนาคม การเงิน การท่องเที่ยว และบริการ มีระบบการค้าขายแบบเสรีที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม
ทันโลกทางด้านเทคโนโลยี และนำโลกในมิติที่ประเทศไทยมีความเป็นเลิศ
มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ โดยมีความสมดุลกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นฐานการจ้างงานและสร้างโอกาสในการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรมทั่วหน้าทุกกลุ่มประชาชนทุกพื้นที่
7)ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในภูมิภาคและชนบทไม่แตกต่างจากคนในเมืองหลวง
คือได้รับบริการโครงสร้างพื้นฐานและบริการพื้นฐานทางสังคมซึ่งจำเป็นอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง
มีหลักประกันด้านสุขภาพอนามัย สามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวกด้วยเครือข่ายระบบโทรคมนาคมและขนส่งซึ่งครอบคลุมทุกพื้นที่ อย่างเท่าเทียมทั่วถึง ทั่วประเทศไทย
มีโอกาสและทางเลือกในการประกอบอาชีพได้อย่างเสรี และใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8)ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษา บริหารจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของคนในปี2538
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
9)มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
และ แผนแม่บททางหลวงระหว่างเมือง 13 สาย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมษายน 2540
รัฐธรรมนูญ2540แก้ไขปัญหาของประเทศไทยในชนบทซึ่งเคยต้องตัดสินด้วยปืนแทนกฎหมาย ด้วยการกำหนดให้ประเทศไทยต้องออกกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540 ในทุกด้าน หรือการปฏิรูปประเทศไทยนั่นเอง
ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540ด้านสุขภาพ2544 หรือ30บาทรักษาทุกโรค
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
8)มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 คือจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 ระหว่าง26 ธันวาคม2539 - 11 ตุลาคม2540
และ แผนแม่บททางหลวงระหว่างเมือง 13 สาย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมษายน 2540
รัฐธรรมนูญ2540แก้ไขปัญหาของประเทศไทยในชนบทซึ่งเคยต้องตัดสินด้วยปืนแทนกฎหมาย ด้วยการกำหนดให้ประเทศไทยต้องออกกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540 ในทุกด้าน หรือการปฏิรูปประเทศไทยนั่นเอง
ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ2540ด้านสุขภาพ2544 หรือ30บาทรักษาทุกโรค
เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง(2563/2020) คนไทยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีเมืองและชุมชนน่าอยู่อาศัย มีความปลอด ภัย และเป็นความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ
8)มีระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ โดยมีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีภาคราชการที่มีประสิทธิภาพ มีนักการเมืองและข้าราชการที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถสูง ยึดผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติเป็นหลักเป็นที่พึ่งและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540