องค์การสหประชาชาติ ได้นิยามเอาไว้ว่า ประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป คิดเป็นสัดส่วนเกิน 10% หรือมีผู้ที่มีอายุเกิน 65 ปีขึ้นไป คิดเป็นเป็นสัดส่วน 7% ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging Society)
ขณะเดียวกันเมื่อประเทศใดก็ตามมีสัดส่วนประชากรอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 20% หรือมีสัดส่วนประชากรอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 14% ของจำนวนประชากรทั้งหมด จะถือว่า ประเทศนั้นได้เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์” (Aged Society)
5 ประเทศที่มีสัดส่วนผู้มีอายุมากกว่า 65 ปี มากที่สุด
1. ญี่ปุ่น 30.2%
2. อิตาลี 24.9%
3. ฟินแลนด์ 23.9%
4. เปอร์โตริโก 23.8%
5. โปรตุเกส 23.7%
ประเทศไทย : 16.7%
รายงานยาวมาก อ่านต่อที่
https://www.thairath.co.th/scoop/world/2766680
วิธีแก้ปัญหาสังคมสูงอายุญี่ปุ่น
ขณะเดียวกันเมื่อประเทศใดก็ตามมีสัดส่วนประชากรอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 20% หรือมีสัดส่วนประชากรอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 14% ของจำนวนประชากรทั้งหมด จะถือว่า ประเทศนั้นได้เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์” (Aged Society)
5 ประเทศที่มีสัดส่วนผู้มีอายุมากกว่า 65 ปี มากที่สุด
1. ญี่ปุ่น 30.2%
2. อิตาลี 24.9%
3. ฟินแลนด์ 23.9%
4. เปอร์โตริโก 23.8%
5. โปรตุเกส 23.7%
ประเทศไทย : 16.7%
รายงานยาวมาก อ่านต่อที่ https://www.thairath.co.th/scoop/world/2766680