การอภิวัฒน์การศึกษาไทย2538 ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ได้รับรางวัล UNESCOและรางวัลจากประเทศฟิลิปปินส์

กระทู้สนทนา
1) December 1995 = การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538

Since December 1995, activities have been conducted in four main areas:
·        School reform. Efforts have been stepped up to standardize the quality of education in all levels and types of schools and educational institutions. Educational coverage has been expanded.
·        Teacher reform. Training and recruitment of teachers have been reformed urgently and comprehensively both in public and private schools. Educational administrators and personnel have been developed continuously.
Curriculum reform. Curriculum and teaching-learning processes have been reformed on an urgent basis in order to raise educational quality of all types and levels.
·        Administrative reform. Through devolution, educational institutions have been empowered to make administrative decisions and to offer appropriate educational services which are as consistent as possible with the local lifestyle and conditions. Provincial organizations have been strengthened to facilitate devolution while private participation of the family and community have been promoted and supported.
https://www.ibe.unesco.org//fileadmin/user_upload/archive/Countries/WDE/2006/ASIA_and_the_PACIFIC/Thailand/Thailand.htm

2) 1996รางวัลบริหารการศึกษา ประเทศฟิลิปปินส์

During a visit to SEAMEO Secretariat, the SEAMEC President invited all SEAMEO Centre Directors to visit schools in Prachin Buri and Chachoengsao provinces in Thailand.  The visit aimed at finding models to help improve rural schools in the country.  SEAMES later adopted Ban Pru Wai Primary School as a pilot project of SEAMEO community involvement.

https://web.archive.org/web/20220904100222/https://www.seameo.org/vl/library/dlwelcome/photogallery/president/sukavich.htm

3) 1997 รางวัลจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ 
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000114483

4) 1998) รางวัลการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดบริการการศึกษา
https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000141834

5) 1999/2542

15 +10 = 25 ปี  ปฏิรูปการศึกษาไทย
          เลาะเลียบคลองผดุงฯ
          ตุลย์ ณ ราชดำเนิน tulacom@gmail.com
          ผ่านมาวันนี้ย่างเข้าสู่เดือนกันยายน 2556 + 10 = 2566 หากนับเอาเดือน สิงหาคม ปี 2542 เป็นวันที่บรรดานักปฏิรูปการศึกษายุคนั้น ประกาศถึงความสำเร็จและภาคภูมิใจที่สามารถผลักดันให้เกิดกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ ก่อเกิดคุณอนันต์แก่ประเทศชาติเป็นล้นพ้น อันส่งผลต่อคุณภาพของคนไทยในอนาคต ผ่านมา 15 ปี+10 = 25 พอดี

          จากคนกลุ่มหนึ่งที่เรียกขานกันว่า 9 อรหันต์การศึกษาในสำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปการศึกษา ส่วนใหญ่หัวนอกและไม่ยอมฟังเสียงท้วงติงของคนศธ. มั่นใจว่าการปรับโครงสร้างและการ กระจายอำนาจจัดการศึกษา การจัดการเรียนรู้ที่ถือผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาวิชาชีพครู ตามแนวคิดของตนนั้นถูกต้อง

          นับแต่นั้นมา ศธ.จากที่เคยมีโครงสร้าง 14 กรม ยุบรวมเหลือ 5 องค์กรหลัก คือ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ .) และสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สป.)

          กระนั้นก็ดียังมีเรื่องที่โต้แย้งและถกเถียงในความเห็นไม่เพียงเรื่องการพัฒนาวิชาชีพครู และเขตพื้นที่การศึกษาจะลงตัวที่จำนวนเท่าไร ตามมาด้วยการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือ ไชลด์เซ็นเตอร์

          จากวลีเด็ดของนักเรียนหญิงคนหนึ่งที่ทำเอาคำขวัญวันเด็กของนายกรัฐมนตรี ปี 2545 แทบตกพื้นที่ข่าว คือ การวิจารณ์ถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนไชลด์เซ็นเตอร์ของคุณครู มีสภาพไม่ต่างไปจาก ควายเซ็นเตอร์ เนื่องจากครูไม่เข้าใจและยังไม่มีแหล่งเรียนรู้นอกห้องพอที่จะทำให้เข้าถึงการเรียนรู้ด้วยตนเองได้

          ผ่านไป 7 ปีตรงกับ 23 ส.ค. 2549 สมศ.เปิดผลการออกประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก พ.ศ. 2544-2548 จำนวน 30,010แห่ง ไม่ได้มาตรฐานขั้นต่ำถึง 20,000 แห่ง และอยู่ขั้นโคม่าหรือ ICU กว่า 15,000 แห่ง

          เดือนสิงหาคมที่เพิ่งจะผ่านมาครบ 15 ปี อยากให้ลองทบทวนกันว่า นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เปลี่ยนรมว.ศธ.และรัฐมนตรีช่วยมาแล้วเท่าใด น่าจะเป็นสถิติสูงสุดในโลก

          ส่วนใหญ่เมื่อมาแล้วมักพยายามสร้างให้มีผลงานใหม่ๆ มั่นใจตนเองถึงความรู้ ความเก่งและเฉลียวฉลาดเหนือกว่าคนการศึกษาที่ทำงานมายาวนาน
          ก็อย่างที่เห็นและเป็นไป 15 +10 =25 ปี ปฏิรูปการศึกษา มีอะไรที่ไปถึงฝั่งอย่างที่คิดกันมั่ง ช่วยบอกที
          หน้า 23
          ที่มา: http://www.matichon.co.th/khaosod

6) 2024/2567 การอภิปราย งบคนดี ของ คุณวิโรจน์ ก้าวไกลคลิกเพื่อดูคลิปวิดีโอ

1) การศึกษาไทยหลงทางอยู่ระหว่างป่าช้า กับฮวงซุ้ย
2) ประเทศต้องสาป

การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538  ถูกปล้นไป 3 รางวัล จากกลุ่มบุคคล ยกย่องตนเองว่าเป็น อรหันต์การศึกษา   4 คนจาก 9 คน
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่