การศึกษาในประเทศไทย เป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทย
พระราชบัญญัติประถมศึกษา 2523
http://www.krukird.com/b_act20.pdf
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2534
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/216/1.PDF
ปี 2530
ปี 2530 + 20 ปี = ปี 2550 หรือ 1 ปี หลังรัฐประหารปี 2549
หากไม่มีการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และ ในปี 2550 กระทรวงศึกษาธิการจัดบริการการศึกษาได้แค่ระดับประถม = ในสมัยรัชกาลที่ 5
ไม่พัฒนา เช่น เดียวกับการรถไฟ ต่อให้ไม่มีรัฐประหาร 2549 ประเทศไทยจะพัฒนาได้ไหมคะ?
ปี 2531
ปี 2534
ปี 2535
ปี 2536
ปี 2537
ปี 2538
1) ปี 2538 กรกฎาคม Roadmap 150 วันของ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร
อ้างอิง หนังสือ 150 วันในกระทรวงศึกษาธิการ
https://drive.google.com/file/u/0/d/1koBrisaqUuQy33QBcQWKHNMe-VMFGrr7/view?pli=1
ลงพื้นที่ทั่วประเทศไทย ตรวจสอบปัญหา และ หาแนวทางแก้ไข
2) ธันวาคม 2538 การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ด้วย
แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ : เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยในศตวรรษที่ 21
หลักฐานภาษาอังกฤษ
Since December 1995, activities have been conducted in four main areas:
· School reform. Efforts have been stepped up to standardize the quality of education in all levels and types of schools and educational institutions. Educational coverage has been expanded.
· Teacher reform. Training and recruitment of teachers have been reformed urgently and comprehensively both in public and private schools. Educational administrators and personnel have been developed continuously.
Curriculum reform. Curriculum and teaching-learning processes have been reformed on an urgent basis in order to raise educational quality of all types and levels.
· Administrative reform. Through devolution, educational institutions have been empowered to make administrative decisions and to offer appropriate educational services which are as consistent as possible with the local lifestyle and conditions. Provincial organizations have been strengthened to facilitate devolution while private participation of the family and community have been promoted and supported.
https://www.ibe.unesco.org//fileadmin/user_upload/archive/Countries/WDE/2006/ASIA_and_the_PACIFIC/Thailand/Thailand.htm
หลักฐานภาษาไทย
https://drive.google.com/file/d/1Qp2GxXhlKgLtt1FmNwbNSSfL9xij7Oex/view?usp=drivesdk
ปี 2539
1) 16 มกราคม 2539 แก้ไขปัญหากองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาได้สำเร็จ
2) ขอมติคณะรัฐมนตรี แก้ไขเพิ่มเติม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2537
การแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 เพื่อสนับสนุนการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3782 หน้า 157 แต่แผนพัฒนา ฯ 7 ใช้ไม่ได้จริง เพราะมีปัญหาในระดับปฏิบัติการในท้องถิ่น
3) คุณพ่อสุขวิช รังสิตพลในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
จึงคิด กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผนเพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
4) การแปลงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ไปสู่การปฏิบัติ
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
5) 1 ตุลาคม 2539 เริ่มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
ปี 2540
Roadmap 180 วัน หรือ 6 เดือน หลังจากเริ่มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 เป็นเครื่องมือในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538
1) 8 พฤษภาคม 2540 คนไทยทุกคน อายุ 3-17 ปี ได้รับบริการการศึกษา ดี มีคุณภาพ ใกล้บ้าน ตั้งแต่ อนุบาล ถึง มัธยมปลาย หรือ อาชีวศึกษา เป็น ครั้งแรกใน รอบ 100 ปี ของ ประวัติศาสตร์การ จัดบริการ การศึกษา ของ กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดบริการการศึกษาทั่วถึง
https://drive.google.com/file/d/1l9b-mUDDOvsfkyj2DUSzOwBrGM84Lhxt/view
2) 11 ตุลาคม 2540 คนไทย ได้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF
ประวัติศาสตร์การศึกษาไทย
พระราชบัญญัติประถมศึกษา 2523 http://www.krukird.com/b_act20.pdf
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2534 https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2534/A/216/1.PDF
ปี 2530
ปี 2530 + 20 ปี = ปี 2550 หรือ 1 ปี หลังรัฐประหารปี 2549
หากไม่มีการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และ ในปี 2550 กระทรวงศึกษาธิการจัดบริการการศึกษาได้แค่ระดับประถม = ในสมัยรัชกาลที่ 5
ไม่พัฒนา เช่น เดียวกับการรถไฟ ต่อให้ไม่มีรัฐประหาร 2549 ประเทศไทยจะพัฒนาได้ไหมคะ?
ปี 2531
ปี 2534
ปี 2535
ปี 2536
ปี 2537
ปี 2538
1) ปี 2538 กรกฎาคม Roadmap 150 วันของ คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐบาลนายกรัฐมนตรีบรรหาร
อ้างอิง หนังสือ 150 วันในกระทรวงศึกษาธิการ https://drive.google.com/file/u/0/d/1koBrisaqUuQy33QBcQWKHNMe-VMFGrr7/view?pli=1
ลงพื้นที่ทั่วประเทศไทย ตรวจสอบปัญหา และ หาแนวทางแก้ไข
2) ธันวาคม 2538 การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ด้วย
แผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัตน์ : เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทยในศตวรรษที่ 21
หลักฐานภาษาอังกฤษ
Since December 1995, activities have been conducted in four main areas:
· School reform. Efforts have been stepped up to standardize the quality of education in all levels and types of schools and educational institutions. Educational coverage has been expanded.
· Teacher reform. Training and recruitment of teachers have been reformed urgently and comprehensively both in public and private schools. Educational administrators and personnel have been developed continuously.
Curriculum reform. Curriculum and teaching-learning processes have been reformed on an urgent basis in order to raise educational quality of all types and levels.
· Administrative reform. Through devolution, educational institutions have been empowered to make administrative decisions and to offer appropriate educational services which are as consistent as possible with the local lifestyle and conditions. Provincial organizations have been strengthened to facilitate devolution while private participation of the family and community have been promoted and supported.
https://www.ibe.unesco.org//fileadmin/user_upload/archive/Countries/WDE/2006/ASIA_and_the_PACIFIC/Thailand/Thailand.htm
หลักฐานภาษาไทย
https://drive.google.com/file/d/1Qp2GxXhlKgLtt1FmNwbNSSfL9xij7Oex/view?usp=drivesdk
ปี 2539
1) 16 มกราคม 2539 แก้ไขปัญหากองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาได้สำเร็จ
2) ขอมติคณะรัฐมนตรี แก้ไขเพิ่มเติม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2537
การแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 เพื่อสนับสนุนการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3782 หน้า 157 แต่แผนพัฒนา ฯ 7 ใช้ไม่ได้จริง เพราะมีปัญหาในระดับปฏิบัติการในท้องถิ่น
3) คุณพ่อสุขวิช รังสิตพลในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
จึงคิด กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 เป็นแผนปฏิรูปความคิดและคุณค่าใหม่ของสังคมไทย ที่เน้นให้ “คนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา” และใช้เศรษฐกิจเป็นเพียงเครื่องมือช่วยพัฒนาให้คนมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนามาเป็นการพัฒนาแบบองค์รวม มีกระบวนการที่จะเชื่อมโยง มิติต่างๆ ของการพัฒนา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายร่วมกันจัดทำแผนเพื่อให้ผู้จัดทำแผนและผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่เป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3783
4) การแปลงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 ไปสู่การปฏิบัติ
https://dl.parliament.go.th/handle/20.500.13072/367183
5) 1 ตุลาคม 2539 เริ่มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
ปี 2540
Roadmap 180 วัน หรือ 6 เดือน หลังจากเริ่มใช้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 เป็นเครื่องมือในการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538
1) 8 พฤษภาคม 2540 คนไทยทุกคน อายุ 3-17 ปี ได้รับบริการการศึกษา ดี มีคุณภาพ ใกล้บ้าน ตั้งแต่ อนุบาล ถึง มัธยมปลาย หรือ อาชีวศึกษา เป็น ครั้งแรกใน รอบ 100 ปี ของ ประวัติศาสตร์การ จัดบริการ การศึกษา ของ กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดบริการการศึกษาทั่วถึง
https://drive.google.com/file/d/1l9b-mUDDOvsfkyj2DUSzOwBrGM84Lhxt/view
2) 11 ตุลาคม 2540 คนไทย ได้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 นับเป็นจุดเริ่มต้นของการขับเคลื่อนพลังทางสังคมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างใหญ่ และนำไปสู่การสร้างแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยเพื่อปฏิรูปประเทศไทย 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/055/1.PDF