คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2652/2529
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 575 หาได้บัญญัติว่าสัญญาจ้างแรงงานจะต้องทำเป็นหนังสือไม่ เพียงแต่ตกลงจ้างและให้สินจ้างกันสัญญาจ้างแรงงานย่อมเกิดแล้ว
คำพิพากษาฎีกาที่15186-15192/2557
.....แต่กฎหมายมิได้บังคับให้สัญญาจ้างแรงงานต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ
คำพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๕๙/๒๕๕๖
โจทก์ซึ่งเป็นนายจ้าง จึงมีหน้าที่ต้องยื่นแบบรายการแสดงรายชื่อผู้ประกันตนต่อสำนักงานประกันสังคมภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ลูกจ้างดังกล่าวเป็นผู้ประกันตนและนำส่งเงินสมทบตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๔๗
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9015/2549
เมื่อศาลแรงงานกลางรับฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยไม่ได้สั่งให้โจทก์ทำงานล่วงเวลา แล้ววินิจฉัยว่าถือไม่ได้ว่าโจทก์ทำงานล่วงเวลา จึงไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา จึงชอบด้วยบทบัญญัติข้างต้นแล้ว
* การลาออกจากงาน เป็นสิทธิของลูกจ้าง
จะออกเมื่อใดก็ได้ เป็นการแจ้งให้ทราบ ไม่ต้องขออนุมัติจากนายจ้าง..
ไม่ต้องใช้ใบลาออกของบริษัท ส่งอีเมล์หรือเขียนเอง แสดงให้ชัดเจนว่า ต้องการจะออกจากงานวันไหน ?...พอ.
แต่
ว่ากันตามหลักกฎหมาย ต้องมีการบอกกล่าวล่วงหน้า ให้อีกฝ่ายทราบ
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 17วรรค 2 และประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา 582 ก็กำหนดให้สัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดเวลา ลูกจ้างสามารถแสดงเจตนา บอกล่วงหน้า 1 งวดค่าจ้าง หมายความว่า บอกก่อนหรือในวันจ่ายค่าจ้างคราวใดคราวหนึ่ง แล้วออกจากงานในวันจ่ายค่าจ้างคราวถัดไป
แต่ถ้านายจ้างกำหนดไว้เป็น 1 เดือน หรือ 30 วัน ก็ให้ถือตามนั้นได้
คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 1661/2557
การกระทำชองจำเลย เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 17 วรรคสอง และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 582 อันเป็นเหตุให้โจทก์ มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากจำเลยได้
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 575 หาได้บัญญัติว่าสัญญาจ้างแรงงานจะต้องทำเป็นหนังสือไม่ เพียงแต่ตกลงจ้างและให้สินจ้างกันสัญญาจ้างแรงงานย่อมเกิดแล้ว
คำพิพากษาฎีกาที่15186-15192/2557
.....แต่กฎหมายมิได้บังคับให้สัญญาจ้างแรงงานต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ
คำพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๕๙/๒๕๕๖
โจทก์ซึ่งเป็นนายจ้าง จึงมีหน้าที่ต้องยื่นแบบรายการแสดงรายชื่อผู้ประกันตนต่อสำนักงานประกันสังคมภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ลูกจ้างดังกล่าวเป็นผู้ประกันตนและนำส่งเงินสมทบตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๔๗
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 9015/2549
เมื่อศาลแรงงานกลางรับฟังข้อเท็จจริงว่าจำเลยไม่ได้สั่งให้โจทก์ทำงานล่วงเวลา แล้ววินิจฉัยว่าถือไม่ได้ว่าโจทก์ทำงานล่วงเวลา จึงไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา จึงชอบด้วยบทบัญญัติข้างต้นแล้ว
* การลาออกจากงาน เป็นสิทธิของลูกจ้าง
จะออกเมื่อใดก็ได้ เป็นการแจ้งให้ทราบ ไม่ต้องขออนุมัติจากนายจ้าง..
ไม่ต้องใช้ใบลาออกของบริษัท ส่งอีเมล์หรือเขียนเอง แสดงให้ชัดเจนว่า ต้องการจะออกจากงานวันไหน ?...พอ.
แต่
ว่ากันตามหลักกฎหมาย ต้องมีการบอกกล่าวล่วงหน้า ให้อีกฝ่ายทราบ
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน มาตรา 17วรรค 2 และประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา 582 ก็กำหนดให้สัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดเวลา ลูกจ้างสามารถแสดงเจตนา บอกล่วงหน้า 1 งวดค่าจ้าง หมายความว่า บอกก่อนหรือในวันจ่ายค่าจ้างคราวใดคราวหนึ่ง แล้วออกจากงานในวันจ่ายค่าจ้างคราวถัดไป
แต่ถ้านายจ้างกำหนดไว้เป็น 1 เดือน หรือ 30 วัน ก็ให้ถือตามนั้นได้
*ถ้าอยากจะลาออกเร็วกว่านั้น ก็ต้องคุยกับนายจ้าง
*การลาออกผิดระเบียบ เป็น "การผิดสัญญาจ้าง" หากนายจ้างได้รับความเสียหาย ฟ้องศาลแรงงานฯได้
*การลาออกผิดระเบียบ เป็น "การผิดสัญญาจ้าง" หากนายจ้างได้รับความเสียหาย ฟ้องศาลแรงงานฯได้
คำพิพากษาศาลฎีกา ที่ 1661/2557
การกระทำชองจำเลย เป็นการฝ่าฝืนพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 17 วรรคสอง และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 582 อันเป็นเหตุให้โจทก์ มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากจำเลยได้
แสดงความคิดเห็น
งานที่ทำไม่มีการเช็นสัญญา ไม่มีสวัสดิการ ไม่มีประกันสังคม ควรลาออกไหม
บริษัทเล็กๆที่ชอบรับงานหลักสิบล้าน เกือบร้อยล้าน
ประเด็นคืองานก่อสร้างมีโอทีแทบทุกวันอยู่แล้ว แต่ผมไม่ได้รับค่า ot เลย
สวัสดีการ แค่ยูนิฟอร์ม 2 ตัว ไม่มีการทำประกันสังคมให้ผมยังไม่เข้าระบบประกันสังคมเลย
เวลาเงินเดือนออกไม่ค่อยตรงไม่มีสลิปเงินเดือนใช้บัญชีส่วนตัวเจ้าของโอนตรงตลอด
ผมอยากถามวีธีการลาออกที่ผมปลอดภัยที่สุด
1.บอกล้วนหน้า 30 วัน (ไม่รู้จะได้รับเงินเดือนหรือป่าว)
2.เงินเดือนออก ผมออก พร้อมเงินเดือน
3.ตามความคิดเห็นเพื่อนๆพี่ๆ ………