https://happybabys.co/%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b3%e0%b8%97%e0%b9%88%e0%b8%a7%e0%b8%a1%e0%b8%9b%e0%b8%ad%e0%b8%94%e0%b9%83%e0%b8%99%e0%b9%80%e0%b8%94%e0%b9%87%e0%b8%81/
วันนี้เรานำเอา ความรู้ เรื่อง น้ำท่วมปอด มาให้แม่ ๆ ทุกท่านได้อ่านและศึกษากัน
เพื่อประกอบเป็นความรู้ ให้คุณแม่ ได้ระวังและป้องกัน การเลิดโรคน้ำท่วมปอดนี้
โรคน้ำท่วมปอดในเด็ก แม่ ๆ หลายท่านอาจจะเคยได้ยิน หรือ อาจจะเคยประสบพบเจอกับโรคนี้ อาการของโรคนี้ เกิดจาก ของเหลวในถุงลมมากกว่าผิดปกติ จึงทำให้เกิดอาการหายใจลำบาก เพราะขาดออกซิเจนไปหล่อเลี้ยง สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมปอด มีอยู่ด้วยกันหลายปัจจัยหลายอย่าง เช่น หัวใจผิดปกติ การติดเชื้อ การสัมผัสสารพิษ ส่วนในเรื่องการักษา แพทน์ก็จะพิจรณาไปตามอาการ เป็นกรณ๊ ๆไป อย่างบางรายที่เกิดอาการเฉียบพลัน ก็จะต้องได้รับการรักษษแบบเร่งด่วนที่สุด เพราะไม่อย่างนั้นอาจทำให้ถึงแก่ชีวิต หือ เสียชีวิตนั้นเอง แล้วยิ่งการเกิด โรคน้ำท่วมปอดในเด็ก ก็นับว่าเป็นความอันตรายอย่างมากเช่นเดียวกัน เพราะฉนั้น แม่ ๆจะต้องมีความรู้ เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสีย
ลักษณะอาการของ โรคน้ำท่วมปอดในเด็ก
ลักษณะอาการของน้ำท่วมปอด สามารถแบ่งได้หลัก ๆ 2 แบบ คือ
1.
อาการของน้ำท่วมปอดชนิดเรื้อรัง จะก่อให้เกิดอาการหายใจไม่อิ่ม มีเสียงครืดคราดในขณะที่หายใจ เมื่อสูดลมหายใจแรง หรือการนอนราบก็จะทำให้หายใจลำบาก มีอาการลุกตื่นในช่วงกลางดึกบ่อย เพราะหายใจไม่สะดวก มีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นอย่างเร็ว มีอาการอ่อนเพลีย ขากับเท้ามีอาการบวม
2.
อาการของน้ำท่วมปอดชนิดเฉียบพลัน จะก่อให้เกิดการ หายใจไม่อิ่ม ขั้นรุนแรง เวลาที่นอนลงไม่สามารถหายใจได้สะดวก มีอาการหอบ รู้สึกกระสับกระส่าย มีความวิตกกังวล ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หากใครที่มีอาการลักษณะนี้ต้องรีบไปพบแพทย์โดยด่วน เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิต
แค่อาการที่กล่าวมาข้างต้น ก็นับว่ามีความอันตรายถึงแก่ชีวิตได้แล้ว ถ้าหากผู้ป่วยเป็นเด็กระดับความรุนแรงก็จะมากขึ้นไปตามอายุ และ ถ้าหากเด็กคนนั้นมีโรคประจำตัวอย่างโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ก็มีโอกาสที่จะเสียชีวิตได้ แต่ถ้าไม่มีโรคประจำตัวอะไรก็สามารถกินยาตามแพทย์สั่งให้ครบ อาการที่เป็นก็จะดีขึ้นไปตามลำดับ ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคน้ำท่วมปอด มักจะเกิดจากสภาพร่างกายของเด็ก และ สิ่งแวดล้อมที่อาจปนเปื้อนไปด้วยเชื้อโรคต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะในที่คนเยอะ ๆ เช่น การไปโรงเรียน
อาการแบบไหนที่ไม่ควรนิ่งนอนใจ
เด็กมีการหายใจแรงขึ้น หรือหายใจได้ลำบากกว่าปกติ
อุณหภูมิร่างกายไม่เป็นปกติ โดยร่างกายอาจอุ่น หรือเป็นไข้
มีอาการเซื่องซึม หงุดหงิด หรือไม่สบายตัว
มีอาการเหมือนเป็นหวัด ไอแห้งบ่อย ๆ
มีเสียงครืดคราดเวลาหายใจ
มีอาการปวดท้อง
รู้สึกเจ็บหน้าอก
มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
มีเสมหะปนเลือด
เบื่ออาหาร และ ไม่อยากกินนมเหมือนปกติ
วิธีป้องกันการเกิดโรคน้ำท่วมปอด
พาเด็กไปฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้น
ในเด็กวัยทารก ควรให้กินนมแม่เป็นหลัก เพื่อเสริมภูมิคุ้มกัน และ ไม่ควรให้กินนมผงมากเกินไป
สวมเสื้อผ้าหนา ๆ ในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น
หากพบผู้ป่วยที่มีอาการของโรค ให้หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า หรือสัมผัสกันอย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปยังสถานที่แออัด หรือมีคนพลุกพล่าน
สอนให้เด็กทำความสะอาดร่างกายด้วยการล้างมือ หรือ ใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดมือบ่อย ๆ
จัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
ไม่ควรนำเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 3 ปี ไปฝากเลี้ยงที่อื่น เพราะมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อได้ง่าย
การรักษาโรคน้ำท่วมปอด
การรักษาโรคน้ำท่วมปอด แพทย์จะวินิจฉัยไปตามสาเหตุของการเกิดโรค โดยเบื้องต้นหากผู้ป่วยหายใจไม่สะดวกก็อาจจะต้องใช้หน้ากากออกซิเจน หรือไม่ก็จะต้องมีการสอดท่อออกซิเจน เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้ดีขึ้น แต่ถ้ามีโรคอื่นที่แทรกซ้อนด้วยก็จะทำการรักษาโรคไปพร้อมกัน ส่วนยาที่ใช้ในการรักษาก็จะมีการใช้เป็นกลุ่มไปตามแต่ละอาการ เช่น ยาลดแรงดันที่เกิดจากของเหลวเข้าไปในหัวใจและปอด กลุ่มยาขยายหลอดเลือดและลดความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย ยารักษาความดันโลหิต และในบางครั้งก็อาจมีการใช้มอร์ฟีนเพื่อบรรเทาอาการด้วย
ยังมีอีกหายโรค หลายอาการ แม่ ๆ ตามมาดูได้ที่
https://happybabys.co/
ขอบคุณขอมูลดี ๆ
แบ่งปันความรู้ โรคน้ำท่วมปอดในเด็ก อันตรายมากกว่าที่คุณแม่คิด
1. อาการของน้ำท่วมปอดชนิดเรื้อรัง จะก่อให้เกิดอาการหายใจไม่อิ่ม มีเสียงครืดคราดในขณะที่หายใจ เมื่อสูดลมหายใจแรง หรือการนอนราบก็จะทำให้หายใจลำบาก มีอาการลุกตื่นในช่วงกลางดึกบ่อย เพราะหายใจไม่สะดวก มีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นอย่างเร็ว มีอาการอ่อนเพลีย ขากับเท้ามีอาการบวม
2. อาการของน้ำท่วมปอดชนิดเฉียบพลัน จะก่อให้เกิดการ หายใจไม่อิ่ม ขั้นรุนแรง เวลาที่นอนลงไม่สามารถหายใจได้สะดวก มีอาการหอบ รู้สึกกระสับกระส่าย มีความวิตกกังวล ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หากใครที่มีอาการลักษณะนี้ต้องรีบไปพบแพทย์โดยด่วน เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิต
แค่อาการที่กล่าวมาข้างต้น ก็นับว่ามีความอันตรายถึงแก่ชีวิตได้แล้ว ถ้าหากผู้ป่วยเป็นเด็กระดับความรุนแรงก็จะมากขึ้นไปตามอายุ และ ถ้าหากเด็กคนนั้นมีโรคประจำตัวอย่างโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ก็มีโอกาสที่จะเสียชีวิตได้ แต่ถ้าไม่มีโรคประจำตัวอะไรก็สามารถกินยาตามแพทย์สั่งให้ครบ อาการที่เป็นก็จะดีขึ้นไปตามลำดับ ส่วนปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคน้ำท่วมปอด มักจะเกิดจากสภาพร่างกายของเด็ก และ สิ่งแวดล้อมที่อาจปนเปื้อนไปด้วยเชื้อโรคต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะในที่คนเยอะ ๆ เช่น การไปโรงเรียน
เด็กมีการหายใจแรงขึ้น หรือหายใจได้ลำบากกว่าปกติ
อุณหภูมิร่างกายไม่เป็นปกติ โดยร่างกายอาจอุ่น หรือเป็นไข้
มีอาการเซื่องซึม หงุดหงิด หรือไม่สบายตัว
มีอาการเหมือนเป็นหวัด ไอแห้งบ่อย ๆ
มีเสียงครืดคราดเวลาหายใจ
มีอาการปวดท้อง
รู้สึกเจ็บหน้าอก
มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
มีเสมหะปนเลือด
เบื่ออาหาร และ ไม่อยากกินนมเหมือนปกติ
วิธีป้องกันการเกิดโรคน้ำท่วมปอด
พาเด็กไปฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้น
ในเด็กวัยทารก ควรให้กินนมแม่เป็นหลัก เพื่อเสริมภูมิคุ้มกัน และ ไม่ควรให้กินนมผงมากเกินไป
สวมเสื้อผ้าหนา ๆ ในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น
หากพบผู้ป่วยที่มีอาการของโรค ให้หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้า หรือสัมผัสกันอย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปยังสถานที่แออัด หรือมีคนพลุกพล่าน
สอนให้เด็กทำความสะอาดร่างกายด้วยการล้างมือ หรือ ใช้ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดมือบ่อย ๆ
จัดการสภาพแวดล้อมภายในบ้านให้มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
ไม่ควรนำเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 3 ปี ไปฝากเลี้ยงที่อื่น เพราะมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อได้ง่าย
การรักษาโรคน้ำท่วมปอด
การรักษาโรคน้ำท่วมปอด แพทย์จะวินิจฉัยไปตามสาเหตุของการเกิดโรค โดยเบื้องต้นหากผู้ป่วยหายใจไม่สะดวกก็อาจจะต้องใช้หน้ากากออกซิเจน หรือไม่ก็จะต้องมีการสอดท่อออกซิเจน เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้ดีขึ้น แต่ถ้ามีโรคอื่นที่แทรกซ้อนด้วยก็จะทำการรักษาโรคไปพร้อมกัน ส่วนยาที่ใช้ในการรักษาก็จะมีการใช้เป็นกลุ่มไปตามแต่ละอาการ เช่น ยาลดแรงดันที่เกิดจากของเหลวเข้าไปในหัวใจและปอด กลุ่มยาขยายหลอดเลือดและลดความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย ยารักษาความดันโลหิต และในบางครั้งก็อาจมีการใช้มอร์ฟีนเพื่อบรรเทาอาการด้วย