เส้นค่าเฉลี่ย Simple moving average (SMA) เป็นการใช้คณิตศาสตร์เบื้องต้นมาคำนวณ โดยการใช้ราคาสุดท้ายที่ซื้อขาย หุ้น หรือสินทรัพย์อื่นๆ กัน มาหารด้วยจำนวนช่วงเวลาที่จะคำนวณ แล้วนำมาเขียนออกมาเป็นรูปแบบกราฟ
ยกตัวอย่าง
คำนวณ ค่าเฉลี่ย 5 วัน ราคาสุดท้ายที่ซื้อขายสุดท้าย (ราคาปิด) ของ SET
คำนวณกันครับ
นำราคาปิดมาบวกกัน
1651.40 + 1653.62 + 1653.62 +1653.09 + 1658.71 + 1653.11 = 8,269.93
คำนวณค่าเฉลี่ยสำหรับ 5 วัน
8,269.93 / 5 = 1653.986
หลังจากนั้นรวบรวมข้อมูลหลายๆวันก่อนสร้างกราฟ
สร้างกราฟกันครับ
ได้แล้วครับการสร้างเส้นค่าเฉลี่ย Moving Average สำหรับเส้นค่าเฉลี่ย แต่โดยปกติเส้นค่าเฉลี่ยโปรแกรมจะช่วยสร้างให้ครับไม่จำเป็นต้องสร้างเอง ที่ผมทำให้ดูคือทำตัวอย่างให้เข้าใจครับ cละเราสามารถเปลี่ยจำนวนวันได้ครับโดยการเพิ่มจำนวนวันที่นำไปบวกและเพิ่มวันที่นำไปหารครับ
เส้นค่าเฉลี่ย Simple Moving Average บอกอะไรเรา?
- แนวโน้มราคาจะขึ้นหรือลง(Trends)
สังเกตุดูนะครับ ถ้ากราฟราคาซื้อขายสุดท้ายสูงกว่าเส้นค่าเฉลี่ย Simple Moving Average ราคาใจขึ้นไปต่อ แต่ถ้าราคาต่ำกว่าเส้นค่าเฉลี่ย Simple Moving Average ราคาจะลงต่อ ดังนั้นเส้นค่าเฉลี่ยจึงใช้ช่วยในการตัดสินใจซื้อหรือขายได้
- ราคามีโอกาสวิ่งกลับเข้าหาเส้นค่าเฉลี่ย (Counter Trends)
เส้นค่าเฉลี่ย ชื่อก็บอกว่าเส้นค่าเฉลี่ย ราคานั้นเวลาวิ่งหนีเส้นค่าเฉลี่ยมากๆ แล้วมีโอกาสที่จะราคาจะกลับมาที่เส้นค่าเฉลี่ยสูง เพราะตามหลักสถิติแล้ว โอกาสเกิดเหตุการณืต่างๆจะเกิดใกล้เคียงค่าเฉลี่ย ลองนึกถึง ค่าเฉลี่ยความสูงคนไทย ที่ 165 ดังนั้นถ้าเรามีลูกออกมาแล้วมีโอกาสที่จะมีควาสูงใกล้เคียง 165 มีโอกาสสูง 190 ตามค่าเฉลี่ยต่างชาตินั้นถือว่ายาก
- แนวรับแนวต้าน (Support & Resistance)
แน่นอนราคาย่อมมีโอกาสเข้าใกล้ค่าเฉลี่ยสูง แต่ถ้าคิดย้อนกลับกันราคาย่อมมีโอกาสวิ่งออกห่างเส้นค่าเฉลี่ยด้วย เพราะ ราคามีการเคลื่อนไหวตลอดเวลาไม่สามารถอยู่ในจุดใดๆได้นาน ราคาจะวิ่งหนีเส้นค้าเฉลี่ยตลอดเวลาเช่นกัน เหมือนกับคน ถ้าถามว่ามีโอกาสที่คนจะสูงเกินกว่าค่าเฉลี่ยของชาติตัวเองนั้นเยอะๆก็ยาก แต่ถ้าถามว่าจำนวนคนที่เท่ากับค่าเฉลี่ย เป๊ะๆ นั้นเทียบกับคนทั้งหมดก็ถือว่าน้อย
- แสดงต้นทุนเฉลี่ยของคนในตลาด
เส้นค่าเฉลี่ยเกิดจากการนำราคาซื้อขายมาคำนวณ การเฉลี่ยราคาซื้อขายก็หมายถึงต้นทุนที่นักลงทุนส่วนใหญจ่ายไปในค่าซื้อขายหุ้น หรือหลักทรัพย์อื่นๆ ถ้าเราซื้อต่ำกว่าค่าเฉลี่ยมากๆ หมายถึงเราซื้อราคาถูกกว่าคนอื่นเยอะมาก แต่ถ้าขายสูงกว่าค่าเฉลี่ยมากๆ ก็หมายถึงเราขายหุ้นได้แพงกว่าคนอืนเยอะมาก
เส้นค่าเฉลี่ย simple moving average เองนั้นไม่ได้ดูลึกลับอะไรเลย ใช้งานง่ายสำหรับคนที่หัดวิเคราะห์ Technical เบื้องต้นครับ
อ่านบทความความรู้ เส้นค่าเฉลี่ย Weighted Moving Average(WMA) และExponential Moving Average (EMA)
https://ppantip.com/topic/42441171
เส้นค่าเฉลี่ย Simple moving average (SMA) คำนวณยังไง? และบอกอะไรเรา?
ยกตัวอย่าง
คำนวณ ค่าเฉลี่ย 5 วัน ราคาสุดท้ายที่ซื้อขายสุดท้าย (ราคาปิด) ของ SET
คำนวณกันครับ
นำราคาปิดมาบวกกัน
1651.40 + 1653.62 + 1653.62 +1653.09 + 1658.71 + 1653.11 = 8,269.93
คำนวณค่าเฉลี่ยสำหรับ 5 วัน
8,269.93 / 5 = 1653.986
หลังจากนั้นรวบรวมข้อมูลหลายๆวันก่อนสร้างกราฟ
สร้างกราฟกันครับ
ได้แล้วครับการสร้างเส้นค่าเฉลี่ย Moving Average สำหรับเส้นค่าเฉลี่ย แต่โดยปกติเส้นค่าเฉลี่ยโปรแกรมจะช่วยสร้างให้ครับไม่จำเป็นต้องสร้างเอง ที่ผมทำให้ดูคือทำตัวอย่างให้เข้าใจครับ cละเราสามารถเปลี่ยจำนวนวันได้ครับโดยการเพิ่มจำนวนวันที่นำไปบวกและเพิ่มวันที่นำไปหารครับ
เส้นค่าเฉลี่ย Simple Moving Average บอกอะไรเรา?
- แนวโน้มราคาจะขึ้นหรือลง(Trends)
สังเกตุดูนะครับ ถ้ากราฟราคาซื้อขายสุดท้ายสูงกว่าเส้นค่าเฉลี่ย Simple Moving Average ราคาใจขึ้นไปต่อ แต่ถ้าราคาต่ำกว่าเส้นค่าเฉลี่ย Simple Moving Average ราคาจะลงต่อ ดังนั้นเส้นค่าเฉลี่ยจึงใช้ช่วยในการตัดสินใจซื้อหรือขายได้
- ราคามีโอกาสวิ่งกลับเข้าหาเส้นค่าเฉลี่ย (Counter Trends)
เส้นค่าเฉลี่ย ชื่อก็บอกว่าเส้นค่าเฉลี่ย ราคานั้นเวลาวิ่งหนีเส้นค่าเฉลี่ยมากๆ แล้วมีโอกาสที่จะราคาจะกลับมาที่เส้นค่าเฉลี่ยสูง เพราะตามหลักสถิติแล้ว โอกาสเกิดเหตุการณืต่างๆจะเกิดใกล้เคียงค่าเฉลี่ย ลองนึกถึง ค่าเฉลี่ยความสูงคนไทย ที่ 165 ดังนั้นถ้าเรามีลูกออกมาแล้วมีโอกาสที่จะมีควาสูงใกล้เคียง 165 มีโอกาสสูง 190 ตามค่าเฉลี่ยต่างชาตินั้นถือว่ายาก
- แนวรับแนวต้าน (Support & Resistance)
แน่นอนราคาย่อมมีโอกาสเข้าใกล้ค่าเฉลี่ยสูง แต่ถ้าคิดย้อนกลับกันราคาย่อมมีโอกาสวิ่งออกห่างเส้นค่าเฉลี่ยด้วย เพราะ ราคามีการเคลื่อนไหวตลอดเวลาไม่สามารถอยู่ในจุดใดๆได้นาน ราคาจะวิ่งหนีเส้นค้าเฉลี่ยตลอดเวลาเช่นกัน เหมือนกับคน ถ้าถามว่ามีโอกาสที่คนจะสูงเกินกว่าค่าเฉลี่ยของชาติตัวเองนั้นเยอะๆก็ยาก แต่ถ้าถามว่าจำนวนคนที่เท่ากับค่าเฉลี่ย เป๊ะๆ นั้นเทียบกับคนทั้งหมดก็ถือว่าน้อย
- แสดงต้นทุนเฉลี่ยของคนในตลาด
เส้นค่าเฉลี่ยเกิดจากการนำราคาซื้อขายมาคำนวณ การเฉลี่ยราคาซื้อขายก็หมายถึงต้นทุนที่นักลงทุนส่วนใหญจ่ายไปในค่าซื้อขายหุ้น หรือหลักทรัพย์อื่นๆ ถ้าเราซื้อต่ำกว่าค่าเฉลี่ยมากๆ หมายถึงเราซื้อราคาถูกกว่าคนอื่นเยอะมาก แต่ถ้าขายสูงกว่าค่าเฉลี่ยมากๆ ก็หมายถึงเราขายหุ้นได้แพงกว่าคนอืนเยอะมาก
เส้นค่าเฉลี่ย simple moving average เองนั้นไม่ได้ดูลึกลับอะไรเลย ใช้งานง่ายสำหรับคนที่หัดวิเคราะห์ Technical เบื้องต้นครับ
อ่านบทความความรู้ เส้นค่าเฉลี่ย Weighted Moving Average(WMA) และExponential Moving Average (EMA)
https://ppantip.com/topic/42441171