เป็นต้นว่า
"ถึงเก่ง ผลงานเยอะ แต่อายุงานไม่ถึง 3 ปี ยังไงก็ไม่ได้ขั้นครึ่ง"
"ขยันเกิ๊น วันเสาร์ก็มาทำงาน กลับค่ำทุกวัน คนแบบนี้ ขืนเลือกไปเป็นผู้บริหาร ก็แย่หน่ะสิ บ่ายสามต้องไปรับลูก ไม่ได้กลับบ้านก่อน"
"คนขยัน ประสานงานเพื่อการเดินทางแทบตาย ไม่ได้ไปต่างประเทศ คนที่นายพาไปต่างประเทศด้วย คือ คนที่สนิทนาย"
ใครมีประสพการณ์เอาแชร์กันหน่อย เราว่าระบบราชการคนตรงไปตรงมา อยู่ยาก และคนเก่งหมดกำลังใจ รู้สึกแปลกแยก
รวมถึงการจัดบริการประชาชนด้วยกระบวนการคิดแปลกๆ
สาเหตุน่าจะเกิดจากข้อสอบภาค ก ที่ไม่ได้รับการพัฒนาให้ทันสมัย มาหลายปี
ไม่เน้นเรื่อง critical thinking ความคล่องตัว ความคิดเชิงประจักษ์ การวิเคราะห์บริบท
แต่เน้นความรู้ระดับมัธยม ที่จะต้องกลับไปอ่านเหมือนตอนสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทั้งที่ได้ปริญญามาแล้ว
ซึ่งคนเก่งๆ จะไม่ทำ เพราะเขาจบปี 4 ด้วยชุดความรู้อีกแบบ รวมถึงตรรกะเชิงทฤษฎี ที่ไม่ค่อยได้ใช้ในโลกของการทำงานจริง
มาช่วยกันวิเคราะห์ดู ว่า เป็นข้อสอบกรองคนฉลาดไหวพริบดี คนที่สร้างความเปลี่ยนแปลง มีความคิดใหม่ๆ ออกจากระบบ
จริงหรือไม่ เหตุใด ในระบบราชการ มีประโยคแปลกๆ ที่คนในนั้นไม่รู้สึกแปลก
เคยได้ยินประโยคแปลกๆที่สะท้อนวัฒนธรรมการทำงานในระบบราชการ...หรือไม่
"ถึงเก่ง ผลงานเยอะ แต่อายุงานไม่ถึง 3 ปี ยังไงก็ไม่ได้ขั้นครึ่ง"
"ขยันเกิ๊น วันเสาร์ก็มาทำงาน กลับค่ำทุกวัน คนแบบนี้ ขืนเลือกไปเป็นผู้บริหาร ก็แย่หน่ะสิ บ่ายสามต้องไปรับลูก ไม่ได้กลับบ้านก่อน"
"คนขยัน ประสานงานเพื่อการเดินทางแทบตาย ไม่ได้ไปต่างประเทศ คนที่นายพาไปต่างประเทศด้วย คือ คนที่สนิทนาย"
ใครมีประสพการณ์เอาแชร์กันหน่อย เราว่าระบบราชการคนตรงไปตรงมา อยู่ยาก และคนเก่งหมดกำลังใจ รู้สึกแปลกแยก
รวมถึงการจัดบริการประชาชนด้วยกระบวนการคิดแปลกๆ
สาเหตุน่าจะเกิดจากข้อสอบภาค ก ที่ไม่ได้รับการพัฒนาให้ทันสมัย มาหลายปี
ไม่เน้นเรื่อง critical thinking ความคล่องตัว ความคิดเชิงประจักษ์ การวิเคราะห์บริบท
แต่เน้นความรู้ระดับมัธยม ที่จะต้องกลับไปอ่านเหมือนตอนสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทั้งที่ได้ปริญญามาแล้ว
ซึ่งคนเก่งๆ จะไม่ทำ เพราะเขาจบปี 4 ด้วยชุดความรู้อีกแบบ รวมถึงตรรกะเชิงทฤษฎี ที่ไม่ค่อยได้ใช้ในโลกของการทำงานจริง
มาช่วยกันวิเคราะห์ดู ว่า เป็นข้อสอบกรองคนฉลาดไหวพริบดี คนที่สร้างความเปลี่ยนแปลง มีความคิดใหม่ๆ ออกจากระบบ
จริงหรือไม่ เหตุใด ในระบบราชการ มีประโยคแปลกๆ ที่คนในนั้นไม่รู้สึกแปลก