พ.ศ. 2534 รัฐบาลนายกรัฐมนตรีอานันท์ ปันยารชุน มีมติให้สร้างท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งที่ 2 หนองงูเห่า โดยให้การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เป็นผู้ลงทุน
พ.ศ. 2539 คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล รองนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 ไม่ต้องการให้สัมปทานเพื่อป้องกันปัญหา ซึ่งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยประสบตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และ ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกำลังประสบอยู่ในปัจจุบัน(2566) จึงให้จัดตั้งบริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด (บทม.) เป้าหมายคือ การสร้างท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งที่ 2 รับผู้โดยสารได้ 30 ล้านคน/ปี และเปิดบริการในปี 2543
พ.ศ. 2540 รัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย 2 หลังเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง ส่งผลกระทบกับหลายประเทศในภูมิภาค ในส่วนโครงการสนามบินหนองงูเห่า คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ปรับลดโครงการฯ ให้รับผู้โดยสารได้ 20 ล้านคน/ปี วงเงินลงทุน 68,832,734 ล้านบาท และให้แล้วเสร็จในปี 2546
พ.ศ. 2549 สนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิเปิดบริการอย่างเป็นทางการในวันที่ 28 กันยายน ในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีพลเอกสุรยุทธ
ที่มาhttps://resolution.soc.go.th/ ค้นหามติคณะรัฐมนตรี
Timeline สนามบินกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 ตั้งแต่ 2534 - 28 กันยายน 2549
พ.ศ. 2539 คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล รองนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 ไม่ต้องการให้สัมปทานเพื่อป้องกันปัญหา ซึ่งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยประสบตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และ ระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกำลังประสบอยู่ในปัจจุบัน(2566) จึงให้จัดตั้งบริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำกัด (บทม.) เป้าหมายคือ การสร้างท่าอากาศยานสากลกรุงเทพแห่งที่ 2 รับผู้โดยสารได้ 30 ล้านคน/ปี และเปิดบริการในปี 2543
พ.ศ. 2540 รัฐบาลนายกรัฐมนตรีชวน หลีกภัย 2 หลังเกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง ส่งผลกระทบกับหลายประเทศในภูมิภาค ในส่วนโครงการสนามบินหนองงูเห่า คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ปรับลดโครงการฯ ให้รับผู้โดยสารได้ 20 ล้านคน/ปี วงเงินลงทุน 68,832,734 ล้านบาท และให้แล้วเสร็จในปี 2546
พ.ศ. 2549 สนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิเปิดบริการอย่างเป็นทางการในวันที่ 28 กันยายน ในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีพลเอกสุรยุทธ
ที่มาhttps://resolution.soc.go.th/ ค้นหามติคณะรัฐมนตรี