" ฝากถามท่านฑูตอิสราเอลประจำประเทศไทยว่า ทำไมถึงเอาแรงงานไทยไปอยู่ท่ามกลางความขัดแย้งเรื่องดินแดน?
โดยไม่มีการป้องกันหลายปี ที่ทำงานของคนไทยกว่า 6,000 อยู่ติดกับฉนวนกาซา
และคนไทยกว่า 12000 คน ในบริเวณใกล้เคียง ต้องใช้ชีวิต เหมือนเป็นกำแพงรัฐกันชน เป็นเกราะป้องกันการโจมตี
รัฐบาลอิสราเอลรับผิดชอบอย่างไร?"
จากข้อสรุปหลายวัน ที่ตามเก็บข้อมูล แรงงานไทย แทบไม่ต่างอะไรกับสถานะ กำแพง หรือรัฐกันชน
ให้กับพลเรือนอิสราเอล ผ่านการจัดสรรที่ทำการเกษตร ติดฉนวนกาซ่า คนกว่า 6,000 คนในพื้นที่นั้น
ใช้ชีวิตอย่างยากลำบาก และไม่มีการป้องกัน คำถามนี้ รัฐบาลอิสราเอลต้องตอบ คนไทย
ข้อมูลเพิ่มเติม
https://ppantip.com/topic/42286260
บทสรุปส่งท้าย ในเรื่องนี้ และ ที่มาที่ไปของ โครงการความร่วมมือ เกี่ยวกับการส่งแรงงานไทยและอิสราเอล
หรือแรงงานไทยเป็นแค่กำแพงกันชน ของความขัดแย้งระหว่างประเทศ?
ปี2009 อิสราเอลได้ เริ่มปฏิบัติการ Operation Cast Lead ในปฏิบัติการนี้
ระหว่างการทำสงครามใน Gaza, มีรายงานที่อ้างว่าอิสราเอลโจมตีโรงเรียนของ UN ที่ใช้เป็นที่หลบภัยสำหรับผู้ประกันชีวิต อิสราเอลเริ่มแรกอ้างว่าผู้ก่อต่อสู้จาก Hamas ใช้โรงเรียนเป็นฐานยิงระเบิดต่ออิสราเอล แต่ในที่สุด UN และองค์กรสิทธิมนุษยชนหลายๆ ที่ได้ดำเนินการตรวจสอบพบว่าไม่มีการใช้โรงเรียนเป็นฐานยิงระเบิด และอิสราเอลได้ยอมรับผิด
ปี 2010 ความตกลงระหว่างรัฐว่าด้วยการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานชั่วคราวในภาคเกษตรของอิสราเอล TIC
ปี 2011 ปาเลสไตน์ ร้องขอในการเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบของสหประชาชาติ (UN) ไม่ได้รับความสำเร็จ. สหรัฐใช้สิทธิ Veto รัฐบาลไทย งดออกเสียง
ปี 2012 ประเทศไทย ทำข้อตกลงกับ อิสราเอล บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการรักษาความลับทั่วไประหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงกลาโหมอิสราเอล (ลงนามเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2555 โดยกระทรวงกลาโหม)
ปี 2012 ปฏิบัติการ Operation Pillar of Defense ของ อิสราเอล
ในวันที่ 14-21 พฤศจิกายน 2012
ในปฏิบัติการนี้ องค์กรนานาชาติระบุว่าการตอบสนองของอิสราเอลเกินความจำเป็นและก่อให้เกิดความเสียหายและการสูญเสียชีวิตของพลเรือนปาเลสไตน์. การยุติการต่อสู้เกิดขึ้นหลังจากการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับอียิปต์และสหรัฐอเมริกา และได้มีการประกาศเงื่อนไขในการหยุดยิงจรวดและการโจมตีทางทหาร.
สังเกต ภาพข้อมูลที่เผยแพร่ใน ช่วงนี้ เพื่อบอกพื้นที่อันตราย ซึ่งจุดสีแดงที่รุนแรงที่สุดคือจุดที่คนไทยถูกใช้เป็นแรงงาน
ปี 2012 ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2012, สหประชาชาติได้ผ่านมติที่ยกระดับสถานะของปาเลสไตน์เป็น (non-member observer state)
ภาพตำแหน่ง ระยะการโจมตีและพื้นที่เสี่ยง สังเกตว่าพื้นที่ ที่แรงงานไทยเข้าไป
ติดกับฉนวนกาซ่า และ มีความเสี่ยงต่อ การโจมตีโดย Heavy Mortar ,Qassam และการโจมตีทางพื้นดินเป็นกลุ่มแรก
ทั้งตำแหน่งแรงงานที่ทำงาน ภูมิรัฐศาสตร์
ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะทางการทหาร ปฏิเสธได้ยากว่า แรงงานไทยที่ไม่ทราบ
ถูกนำไปใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และอิสราเอล โดยถูกดึงไปเกี่ยวข้องกับดินแดน
โดยไม่เต็มใจและไม่ทราบความเสี่ยง
ไม่ว่าจะเป็ฯการเมืองระหว่างประเทศอย่างไรก็ตาม
ได้โปรดขอความกรุณา อย่างน้อยที่สุด เมื่อประเทศของท่านใช้แรงงานไทย ใช้ชีวิตของคนไทยเราแบบนี้แล้ว
ขอเพียงแค่ รัฐบาลอิสราเอล ช่วยอำนวยความสะดวกส่งคนไทยที่ประสงค์กลับบ้าน ได้กลับบ้านโดยสวัสดิภาพ
จากเครือข่ายของประเทศอิสราเอลของท่าน ท่าน ทำให้คนไทยเราได้ไหม อย่าให้คนไทยเราต้องหาเงินกลับบ้านด้วยตัวเอง โดนนายจ้างเอาเปรียบ หรือเฝ้ารอการช่วยเหลือจากรัฐบาลไทยที่ขาดศักยภาพในการแก้ปัญหาปัจจุบัน?เท่านั้นเอง
ถามท่านฑูตอิสราเอลประจำประเทศไทยว่า ทำไมถึงเอาแรงงานไทยไปกลางความขัดแย้งเรื่องดินแดน โดยไม่มีเครื่องป้องกัน?
โดยไม่มีการป้องกันหลายปี ที่ทำงานของคนไทยกว่า 6,000 อยู่ติดกับฉนวนกาซา
และคนไทยกว่า 12000 คน ในบริเวณใกล้เคียง ต้องใช้ชีวิต เหมือนเป็นกำแพงรัฐกันชน เป็นเกราะป้องกันการโจมตี
รัฐบาลอิสราเอลรับผิดชอบอย่างไร?"
จากข้อสรุปหลายวัน ที่ตามเก็บข้อมูล แรงงานไทย แทบไม่ต่างอะไรกับสถานะ กำแพง หรือรัฐกันชน
ให้กับพลเรือนอิสราเอล ผ่านการจัดสรรที่ทำการเกษตร ติดฉนวนกาซ่า คนกว่า 6,000 คนในพื้นที่นั้น
ใช้ชีวิตอย่างยากลำบาก และไม่มีการป้องกัน คำถามนี้ รัฐบาลอิสราเอลต้องตอบ คนไทย
ข้อมูลเพิ่มเติม https://ppantip.com/topic/42286260
บทสรุปส่งท้าย ในเรื่องนี้ และ ที่มาที่ไปของ โครงการความร่วมมือ เกี่ยวกับการส่งแรงงานไทยและอิสราเอล
หรือแรงงานไทยเป็นแค่กำแพงกันชน ของความขัดแย้งระหว่างประเทศ?
ปี2009 อิสราเอลได้ เริ่มปฏิบัติการ Operation Cast Lead ในปฏิบัติการนี้
ระหว่างการทำสงครามใน Gaza, มีรายงานที่อ้างว่าอิสราเอลโจมตีโรงเรียนของ UN ที่ใช้เป็นที่หลบภัยสำหรับผู้ประกันชีวิต อิสราเอลเริ่มแรกอ้างว่าผู้ก่อต่อสู้จาก Hamas ใช้โรงเรียนเป็นฐานยิงระเบิดต่ออิสราเอล แต่ในที่สุด UN และองค์กรสิทธิมนุษยชนหลายๆ ที่ได้ดำเนินการตรวจสอบพบว่าไม่มีการใช้โรงเรียนเป็นฐานยิงระเบิด และอิสราเอลได้ยอมรับผิด
ปี 2010 ความตกลงระหว่างรัฐว่าด้วยการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานชั่วคราวในภาคเกษตรของอิสราเอล TIC
ปี 2011 ปาเลสไตน์ ร้องขอในการเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบของสหประชาชาติ (UN) ไม่ได้รับความสำเร็จ. สหรัฐใช้สิทธิ Veto รัฐบาลไทย งดออกเสียง
ปี 2012 ประเทศไทย ทำข้อตกลงกับ อิสราเอล บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการรักษาความลับทั่วไประหว่างกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงกลาโหมอิสราเอล (ลงนามเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2555 โดยกระทรวงกลาโหม)
ปี 2012 ปฏิบัติการ Operation Pillar of Defense ของ อิสราเอล
ในวันที่ 14-21 พฤศจิกายน 2012
ในปฏิบัติการนี้ องค์กรนานาชาติระบุว่าการตอบสนองของอิสราเอลเกินความจำเป็นและก่อให้เกิดความเสียหายและการสูญเสียชีวิตของพลเรือนปาเลสไตน์. การยุติการต่อสู้เกิดขึ้นหลังจากการเจรจาที่เกี่ยวข้องกับอียิปต์และสหรัฐอเมริกา และได้มีการประกาศเงื่อนไขในการหยุดยิงจรวดและการโจมตีทางทหาร.
สังเกต ภาพข้อมูลที่เผยแพร่ใน ช่วงนี้ เพื่อบอกพื้นที่อันตราย ซึ่งจุดสีแดงที่รุนแรงที่สุดคือจุดที่คนไทยถูกใช้เป็นแรงงาน
ปี 2012 ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2012, สหประชาชาติได้ผ่านมติที่ยกระดับสถานะของปาเลสไตน์เป็น (non-member observer state)
ภาพตำแหน่ง ระยะการโจมตีและพื้นที่เสี่ยง สังเกตว่าพื้นที่ ที่แรงงานไทยเข้าไป
ติดกับฉนวนกาซ่า และ มีความเสี่ยงต่อ การโจมตีโดย Heavy Mortar ,Qassam และการโจมตีทางพื้นดินเป็นกลุ่มแรก
ทั้งตำแหน่งแรงงานที่ทำงาน ภูมิรัฐศาสตร์
ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะทางการทหาร ปฏิเสธได้ยากว่า แรงงานไทยที่ไม่ทราบ
ถูกนำไปใช้ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และอิสราเอล โดยถูกดึงไปเกี่ยวข้องกับดินแดน
โดยไม่เต็มใจและไม่ทราบความเสี่ยง
ไม่ว่าจะเป็ฯการเมืองระหว่างประเทศอย่างไรก็ตาม
ได้โปรดขอความกรุณา อย่างน้อยที่สุด เมื่อประเทศของท่านใช้แรงงานไทย ใช้ชีวิตของคนไทยเราแบบนี้แล้ว
ขอเพียงแค่ รัฐบาลอิสราเอล ช่วยอำนวยความสะดวกส่งคนไทยที่ประสงค์กลับบ้าน ได้กลับบ้านโดยสวัสดิภาพ
จากเครือข่ายของประเทศอิสราเอลของท่าน ท่าน ทำให้คนไทยเราได้ไหม อย่าให้คนไทยเราต้องหาเงินกลับบ้านด้วยตัวเอง โดนนายจ้างเอาเปรียบ หรือเฝ้ารอการช่วยเหลือจากรัฐบาลไทยที่ขาดศักยภาพในการแก้ปัญหาปัจจุบัน?เท่านั้นเอง